Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6065
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพประสิทธิ์ กุลธวัชวิชัย-
dc.contributor.authorจตุพล กล้วยแดง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-27T08:02:21Z-
dc.date.available2008-02-27T08:02:21Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741419783-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6065-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractศึกษาและเปรียบเทียบผลของการฝึกเสริมพลัยโอเมตริก ที่มีต่อความคล่องแคล่วว่องไวในการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตชายระดับปริญญาตรีของสำนักวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา อายุระหว่าง 18-22 ปี และไม่ได้เป็นนักกีฬาของมหาวิทยาลัย จำนวน 30 คน โดยวิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจงด้วยการหาความแข็งแรงพื้นฐานที่อยู่ในระดับที่ 1.5-2.5 เท่าของน้ำหนักตัว แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 15 คน โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มที่มีความสามารถเท่ากัน จากการทดสอบความคล่องแคล่วว่องไวในการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มควบคุมที่ฝึกโปรแกรมการฝึกทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มทดลองที่ฝึกโปรแกรมการฝึกทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล และการฝึกโปรแกรมการฝึกเสริมพลัยโอเมตริก ใช้เวลาในการทดลอง 6 สัปดาห์ๆ ละ 3 วันๆ ละ 40 นาที ทดสอบวัดความคล่องแคล่วว่องไวในการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล วัดพลังระเบิดของกล้ามเนื้อขา วัดความสามารถในการเคลื่อนที่จากการเกิดสิ่งเร้าที่มีปฏิกิริยาตอบสนอง และวัดความอ่อนตัวแบบเคลื่อนที่ ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง สัปดาห์ที่ 3 และหลังการทดลองสัปดาห์ที่ 6 แล้วนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ตามวิธีทางสถิติ ด้วยการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแตกต่างระหว่างกลุ่มและภายในกลุ่ม ความแปรปรวนทางเดียวด้วยการวัดซ้ำและเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยใช้วิธีการทดสอบของ ตูกี ผลการวิจัยพบว่า 1. หลังการทดลอง 6 สัปดาห์ กลุ่มทดลองที่ฝึกโปรแรมการฝึกทักษะการเลี้ยงลูบาสเกตบอล และการฝึกโปรแกรมการฝึกเสริมพลัยโอเมตริก มีความคล่องแคล่วว่องไวในการเลี้ยงลูกบาสเก็ตบอล มากกว่ากลุ่มควบคุมที่ฝึกโปรแกรมการฝึดทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 2.หลังการทดลอง 3 สัปดาห์ กลุ่มทดลองที่ฝึกโปรแกรมการฝึกทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล และการฝึกโปรแกรมการฝึก้เสริมพลัยโอเมตริก มีความคล่องแคล่วว่องไวในการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล ความอ่อนตัวแบบเคลื่อนที่ มากกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. หลังการทดลอง 6 สัปดาห์ กลุ่มทดลองที่ฝึกโปรแกรมการฝึกทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล และการฝึกโปรแกรมการฝึกเสริมพลัยโอเมตริก มีความคล่องแคล่วว่องไวในการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล พลังระเบิดของกล้ามเนื้อขา ความสามารถในการเคลื่อนที่จากการเกิดสิ่งเร้าที่มีปฏิกิริยาตอบสนอง ความอ่อนตัวแบบเคลื่อนที่ มากกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5en
dc.description.abstractalternativeTo study and compare the result of the plyomatric practive effecting to the basketball dribbling agility. For the purpose of this study, two groups are chosen form 30 bachelor male students, 18-22 years of age which were not the athlet of university, form School of Sport Science by the purposive method basal on a fundamental strength level 1.5-2.5 per body weight. Those chosen students were equally derided into 2 groups. The 1st group focuses on the program of dribbling and the 2nd group focuses on the program of dribbling and the plyomatric practice. The period of practice was 40 minutes a day, 3 days a week and the total duration is 6 weeks. The practice was about to measure after, before and after the 3rd, 6th week, the agility of dribbling, the explosive power of leg's massive, the reaction ability and the moving flexibility. After that, all results should be analysis for the average and the standard deviation, the interval difference of individual group, the one-way analysis of variance with repeated measurement and multiple comparisons by the Tukey (a) methos. The results were as follows 1. After 6 weeks, basketball dribbling agility in the experimental group was significantly better than the control group at the .05 level. 2. After 3 weeks, basketball dribbling agility and moving flexibility in the experimental group were significantly better than before training at the .05 level. 3. After 6 weeks, basketball dribbling agility, explosive power of leg's massive, reaction ability and moving flexibility in the experimental group was significantly better than before training at the .05 level.en
dc.format.extent3364465 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.627-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectบาสเกตบอลen
dc.subjectกำลังกล้ามเนื้อen
dc.subjectพลัยโอเมตริก (การฝึกกำลัง)en
dc.titleผลของการฝึกเสริมพลัยโอเมตริกที่มีต่อความคล่องแคล่วว่องไว ในการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลของนิสิตชายระดับปริญญาบัณฑิตen
dc.title.alternativeEffects of using supplementary plyometric training on basketball dribbling agility of male undergraduate studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTepprasit.G@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.627-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jatupol_Kl.pdf3.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.