Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63038
Title: Tobacco Use, Health Care Utilization, Household Expenditure and Smoking Cessation in China
Other Titles: การบริโภคยาสูบ การใช้บริการสาธารณสุข การใช้จ่ายภาคครัวเรือน และการเลิกบุหรี่ในประเทศจีน
Authors: Changle Li
Advisors: Siripen Supakankunti
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Economics
Advisor's Email: Siripen.S@Chula.ac.th
Issue Date: 2017
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This dissertation studied the tobacco use impact of on health care utilization, household expenditure, and self-rated health among rural residents in rural China. The 2010-2014 China Family Panel Studies data were employed here. Moreover, this study also conducted the randomized controlled trial and analyzed the cost-effectiveness smoking cessation intervention among college-aged smokers in Inner Mongolia, China. The main findings showed: (1) Current and former smokers use more outpatient care than non-smokers. Moreover, former smokers use more inpatient care than non-smokers in rural China. (2) Long-term quitters decreased the probability of using inpatient care compared with recent and moderate-term quitters in rural China. (3) Recent and long-term quitters had a much higher probability of visiting the general and specialized hospital compared to vising the village health center and the clinic in rural China. (4) Tobacco consumption crowded out expenditures on food, dress, health care, and education for rural households in China. Moreover, high tobacco consumption households reduced much more spending on health care and education compared with other tobacco consumption households in rural China. (5) Non-smokers and ex-smokers were more likely to report their health status as better compared with last year. Additionally, Ex-smokers were more likely to report better health compared with last year in rural China and proves that the result of quitting may improve self-report health status. (6) TM plus GBT was more cost-effective compared to the NRT at 3 months based on the continuous abstinence rate as effectiveness measurement among college-aged adult smoker in Inner Mongolia, China.
Other Abstract: วิทยานิพนธ์เล่มนี้ได้ศึกษาผลกระทบจากการบริโภคยาสูบที่มีต่อการใช้บริการสาธารณสุข การใช้จ่ายของครัวเรือน และการประเมินสุขภาพของตนเองของผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตชนบทของสาธารณรัฐประชาชนจีน ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยข้อมูลในช่วงปี พ.ศ. 2553 ถึง พ.ศ. 2557 จาก China Family Panel Studies data สำหรับการศึกษาต้นทุน-ประสิทธิผลของโครงการการให้บริการการเลิกสูบบุหรี่นั้น การศึกษานี้ได้ใช้รูปแบบการทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม จากข้อมูลจากการทดลองนี้ได้ทำการวิเคราะห์ต้นทุน-ประสิทธิผลของการให้บริการการเลิกสูบบุหรี่แก่ผู้สูบในช่วงอายุระดับอุดมศึกษาในพื้นที่เขตปกครองตนเองมองโกเลีย ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างในเขตพื้นที่ชนบทของสาธารณรัฐประชาชนจีนมีลักษณะที่พบดังนี้ (1) ทั้งผู้ที่สูบบุหรี่ในปัจจุบันและผู้ที่เคยสูบบุหรี่โดยในปัจจุบันได้เลิกสูบบุหรี่แล้วได้เข้าใช้บริการเป็นผู้ป่วยนอกของสถานพยาบาลและโรงพยาบาลมากกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่  และผู้ที่เคยสูบบุหรี่มีการใช้บริการในการรักษาในฐานะผู้ป่วยในมากกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ (2) ผู้ที่เลิกสูบบุหรี่ได้ในระยะยาวมีโอกาสในการใช้บริการในฐานะผู้ป่วยในลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่เพิ่งเลิกสูบบุหรี่ได้ไม่นานหรือผู้ที่เลิกสูบบุหรี่ได้เพียงระยะหนึ่ง (3) ผู้ที่เลิกสูบบุหรี่ไม่นานและผู้ที่สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้เป็นระยะเวลานานแล้วมีโอกาสสูงกว่าในการเข้าพบแพทย์และทำการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการรักษาเฉพาะโรคเมื่อเทียบกับการเข้ารับการรักษาในศูนย์สุขภาพระดับหมู่บ้านและคลินิก (4) การบริโภคยาสูบส่งผลให้ครัวเรือนลดค่าใช้จ่ายด้านอาหาร เครื่องแต่งกาย การดูแลสุขภาพ และด้านการศึกษา ยิ่งไปกว่านั้น ครัวเรือนที่มีการบริโภคยาสูบในปริมาณมากได้ลดค่าใช้จ่ายจำนวนมากเกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพและรายจ่ายด้านการศึกษาเมื่อเปรียบเทียบกับครัวเรือนที่บริโภคยาสูบในปริมาณน้อยหรือไม่บริโภคยาสูบเลย (5) ผู้ที่ไม่สูบบุหรี่หรือเลิกบุหรี่แล้วมีแนวโน้มที่จะประเมินด้วยตนเองว่ามีสุขภาพที่ดีขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ การที่บุคคลที่สามารถเลิกสูบบุหรี่มีแนวโน้มการประเมินด้วยตนเองว่ามีสุขภาพที่ดีขึ้นนั้นพิสูจน์ให้เห็นว่าผลลัพธ์จากการเลิกสูบบุหรี่สามารถช่วยให้ระดับสุขภาพจากการประเมินตนเองดีขึ้น (6) การรักษาแบบ การเตือนด้วยข้อความทางโทรศัพท์มือถือและการบำบัดแบบกลุ่ม (mobile phone text messaging plus group behavior therapy) มีต้นทุนประสิทธิผลมากกว่าวิธีการรักษาโดยการใช้นิโคตินทดแทน (nicotine replacement therapy) ในระยะเวลา 3 เดือนโดยใช้อัตราการเลิกบุหรี่ได้อย่างต่อเนื่องเป็นการวัดประสิทธิผล ของกลุ่มผู้สูบบุหรี่ที่เป็นนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตปกครองตนเองมองโกเลีย สาธารณรัฐประชาชนจีน
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2017
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Economics
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63038
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.186
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2017.186
Type: Thesis
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5685902029.pdf4.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.