Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67705
Title: From chitosan flakes to chitosan nanospheres: investigation of nanosphere structure and factor related to nanosphere formation and model drug incorporation
Other Titles: จากแผ่นไคโตซาน เป็นไคโตซานนาโนสเฟียร์: การตรวจสอบโครงสร้างของไคโตซานนาโนสเฟียร์และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการก่อรูปเป็นนาโนสเฟียร์ และการอยู่ร่วมกันกับโมเลกุลยาต้นแบบ
Authors: Chantiga Choochottiros
Advisors: Suwabun Chirachanchai
Rangrong Yoksan
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Issue Date: 2009
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Development of chitosan as nanomaterial is proposed by modification of functional group on chitosan chain. Grafting phthalic anhydride and α-caboxylpropyl- ω-methoxy polyethylene glycol (mPEG-COOH) on chitosan exhibits spherical form via self-assembly process in aqueous system. The molecular weight of mPEG plays an important role to control the particle size. As compared to mPEG 2000, which gives a bimodal nanosphere (∼200, and ∼300 nm), mPEG 5000 initiates a monodispersed nanosphere with the smaller size (150 nm). In aqueous solution, the nanosphere surface is negatively charged resulting in a well dispersion in neutral to high pH but a significant precipitation in low pH. The studies on model drug (lidocaine, campthotecin, and proteins) incorporation with chitosan nanospheres exhibit efficiency of nanosphere as drug and/or vaccine carrier.
Other Abstract: การพัฒนาไคโตซานเพื่อเป็นวัสดุที่มีขนาดระดับนาโนเมตรถูกเสนอโดยการปรับหมู่ฟังก์ชั่นบนสายโซ่ไคโตซาน การติดหมู่พทาลิกแอนไฮไดด์ และ α-คาร์บอกซิลโพรพิล-ω-เมทอกซี พอลีเอทิลลีน ไกลคอล (mPEG-COOH) บนไคโตซาน จะก่อรูปเป็นสเฟียร์โดยผ่าน กระบวนการรวมตัวกันเองในระบบที่มีน้ำเป็นองค์ประกอบ น้ำหนักโมเลกุลของ mPEG เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการควบคุมขนาดของอนุภาคนาโนสเฟียร์ เมื่อเปรียบเทียบอนุภาคที่ได้จากการติดหมู่ mPEG 2000 อนุภาคนาโนสเฟียร์ที่ได้จะมีลักษณะการกระจายตัวของขนาดอนุภาคแบบคู่ (~200 และ ~300 นาโนเมตร) กรณี mPEG 5000 จะได้อนุภาคนาโนสเฟียร์ที่มีกระจายอนุภาคแบบเดี่ยว และมีขนาดอนุภาคที่เล็กกว่า (150 นาโนเมตร) เมื่อไคโตซานนาโนสเฟียร์กระจายตัวในน้ำ ค่าประจุที่ผิวของอนุภาคจะแสดงค่าเป็นลบ ซึ่งส่งผลต่อการกระจายตัวในอนุภาคที่สภาวะพีเอชต่าง ๆ ได้แก่ การเกิดกระจายตัวในสภาวะที่เป็นกลางถึงเบส แต่จะเกิดการตกตะกอนในสภาวะที่เป็นกรด การศึกษาการเก็บกักหรือการตรึงโมเลกุลยาต้นแบบ (ลิโดเคน แคมโทเทซิน และโปรตีน) แสดงถึงประสิทธิภาพในการนำไคโตซานนาโนสเฟียร์ไปใช้เป็นตัวนำส่งยาหรือโปรตีน
Description: Thesis (Ph.D)--Chulalongkorn University, 2009
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67705
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chantiga_ch_front_p.pdf922.49 kBAdobe PDFView/Open
Chantiga_ch_ch1_P.pdf682.58 kBAdobe PDFView/Open
Chantiga_ch_ch2_p.pdf891.52 kBAdobe PDFView/Open
Chantiga_ch_ch3_p.pdf936.04 kBAdobe PDFView/Open
Chantiga_ch_ch4_p.pdf1.83 MBAdobe PDFView/Open
Chantiga_ch_ch5_p.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
Chantiga_ch_ch6_p.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
Chantiga_ch_ch7_p.pdf612.42 kBAdobe PDFView/Open
Chantiga_ch_back_p.pdf856.92 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.