Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69707
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลินี อาชายุทธการ-
dc.contributor.authorอรอุทัย นิลนาม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-11-11T11:53:57Z-
dc.date.available2020-11-11T11:53:57Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69707-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractการแสดงในงานศิลปวัฒธรรมอุดมศึกษา เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการแสดงในงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา โดยขอบเขตการศึกษา คือ งานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ 1 – 19 ผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ 1) การสำรวจข้อมูลเชิงเอกสาร 2) การสัมภาษณ์บุคคล กลุ่มที่ 1 ที่ปรึกษางานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา กลุ่มที่ 2 สมาชิกเครือข่ายอุดมศึกษาทางด้านนาฏยศิลป์ กลุ่มที่ 3 นิสิต นักศึกษาที่ได้รวมงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา 3) ใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง 4) การลงพื้นที่ภาคสนาม ผลการวิจัยพบว่า การแสดงที่ปรากฏในงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษาครั้งที่ 1 – 19 ปรากฏการแสดง 5 ประเภท 23 รูปแบบการแสดง โดยการแสดงที่นำมาแสดงมากมากที่สุดถึงร้อยละ 62 ของการแสดงทั้งหมด คือการแสดงสร้างสรรค์นาฏยศิลป์พื้นบ้าน (ระบำ) โดยมีปัจจัยในการเลือกชุดการแสดง ดังนี้ 1) ความถนัด เอกลักษณ์ ทางด้านนาฏยศิลป์ของแต่ละมหาวิทยาลัย 2)สถานที่จัดงานและสถานที่จัดแสดง 3) งบประมาณ ด้วยปัจจัยต่าง ๆ ส่งผลให้โดยการแสดงที่นำมาแสดงคือการแสดงสร้างสรรค์นาฏยศิลป์พื้นบ้าน (ระบำ) สะท้อนให้เห็นถึงศักยภาพในความสามารถทางด้านการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ของแต่ละสถาบันที่เข้าร่วม  ที่นำเอาวิถีชีวิต ภูมิปัญญา หรือการแสดงที่เคยมีอยู่แล้วนำมาสร้างสรรค์เป็นผลงงานทางด้านนาฏยศิลป์ และจากการศึกษาการจัดการการแสดงในงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา พบว่าเป็นโครงการที่ตอบสนองนโยบาย ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ทำให้เกิดการรวมตัวกัน เพื่อจัดงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา โดยผลการประเมินการจัดงานในแต่ละครั้งมีผลการประเมินด้านตัวชี้วัดในทุกด้านอยู่ในระดับ ดี – ดีมาก และงานนี้ถือเป็นงานที่สร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านศิลปวัฒนธรรม ด้านการอนุรักษ์การแสดงนาฏยศิลป์ที่เป็นแบบแผนตามแบบกรมศิลปากร เนื่องด้วยงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษาป็นงานที่ให้ว่าที่บัณฑิตได้ฝึกฝน  การสร้างสรรค์ผลงาน การจัดการการแสดง การสร้างเครือข่ายทางด้านศิลปวัฒนธรรมเพิ่มขึ้นในอนาคต เพื่อเป็นการสืบทอด อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยให้คงอยู่โดยคนรุ่นใหม่ และเป็นศูนย์รวมของบุคลากรวงการนาฏศิลป์ไทยได้พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อพัฒนาผลงานทางด้านนาฏยศิลป์รูปแบบต่าง ๆ  ต่อไปในอนาคต-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this qualitative research was to study the performance styles in Higher Education Art and Culture Festival.  The study focused on the 1st-19th Higher Education Art and Culture Festival. The research metrology including 1) Documentary survey. 2) Personal interview, Group 1: Higher Education Art and Culture Advisor, Group 2: Members of the Higher Education Dance Network, Group 3: Students Participating in Higher Education Art and Culture. 3) Using relevant information technology equipment and 4) Field study. The research found that the performances appearing in the 1st-19th Higher Education Art and Culture Festival can be divided into 5 categories, 23 performances types.  The performance that was shown almost 62% of the total performance was the creative folk dance. The decision to creative there dance was based upon: 1) The aptitude, the unique character of the dance of each university. 2) Location and show venue. 3) Budget. With these various factors resulting in the performance that was displayed, which was the performance of folk dance. There reflected the potential of the creative talent of each participating institution that used the way of life, wisdom or stock performances to create new dances. Performing to the management, it was found that the Festival complied to the government policy in preserving arts and culture, resulting in organizing the Higher Education Art and Culture Festival. The evaluation of each Festival has been recognized good and very good. This Festival was considered to be an inspiration to create new works of art and culture and to conserve traditional works based upon the Department of the Fine Arts can standard. The Higher Education Art and Culture Festival was the event that students practice in creating performance, management. The Festival creating more will help artistic and cultural networks in the future in order to, preserve and disseminate Thai culture. It is also the center for Thai dance personnel to exchange ideas in order to develop various forms of dance in the future.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.847-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationArts and Humanities-
dc.titleการแสดงในงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา-
dc.title.alternativePerformance in higher education art and culture festival-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนาฏยศิลป์ไทย-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorMalinee.A@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2019.847-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6186734035.pdf8.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.