Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73036
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAckadej Chaiperm-
dc.contributor.authorPimadej Siwapornpitak-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Political Science-
dc.date.accessioned2021-03-31T08:34:54Z-
dc.date.available2021-03-31T08:34:54Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73036-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2018en_US
dc.description.abstractThe application of privatization in public sector is a one of strategic transformations that significantly helps promoting the organizational development in terms of efficiency and quality which subsequently resulted to the continuous financial development which refers to as revenue and profitability. Such development usually will be corresponded to the competitive market which indicates the organizational achievement. However, privatization can possibly create direct impacts on public sector and stakeholders as well if it was conducted in the public sector that emphasized on public health services such as public hospital where the core product is health care or medical treatment. The objectives of this research were to (1) study the privatized management system of Siriraj Piyamaharajkarun Hospital, which is another Government Super Tertiary Hospital affiliated with the Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University, by using five specific components of P.S.O. 1107 as a conceptual framework (efficiency, quality, equity, responsiveness, availability); (2) to initiate an innovative privatized super tertiary hospital standard management system. The research is conducted as a qualitative study, using (1) documentary researches which include the principle of P.S.O. 1107, work of literatures regarding the concept of privatization and public health service, to explain how adoption of privatization in public health sector can generate social values and social impacts (2) interview approaches; in-depth and semi-structured interviews, to engage people with the right form of information and knowledge needed to address the theme emerging from the study. The findings were that the application of privatization in SiPH led to certain degree of improvements, especially on the level of (1) efficiency which can be referred to as the maximization of human resources, financial development, and faster-timing in service provision; (2) quality in term of health services which showed that privatized medical scheme accredited by JCI Standards, enabled SiPH to provide better health services than Siriraj Hospital where HA Standard is held, however, both hospitals adhered to the same quality standard of medical treatments. Although privatized medical scheme is responsive to the needs of medical personnel and affordable patients, what emerged as potential drawback from the establishment of SiPH is an issue of inequity which can be referred to as (1) financial barrier that health service provision is dramatically depended on affordability than desirability (2) geographical barrier that hospital facilities in privatized scheme prevent accessibility from least affordable patients (3) cultural barrier that privatization influenced medical personnel to conduct unfair practices since only affordable patients could actually respond to their needs. Last but not least, it was also observable that the quantities of advanced and expensive medical specialties listed in SiPH were more than Siriraj Hospital because privatization granted SiPH to prioritize on financial development aspect rather than equity.en_US
dc.description.abstractalternativeการนำรูปแบบการดำเนินการแบบเอกชนมาใช้ในองค์กรภาครัฐ เป็นการแปรรูปเชิงกลยุทธ์ประเภทหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาในเชิงประสิทธิภาพและคุณภาพต่อองค์กรอย่างมาก ซึ่งผลที่ตามมาคือการพัฒนาทางการเงินในรูปแบบรายรับและผลกำไรอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาการดังกล่าวจะสอดคล้องกับการแข่งขันในตลาดซึ่งมักเป็นตัวชี้วัดความสำเร็จขององค์กร อย่างไรก็ตาม รูปแบบการดำเนินการภาคเอกชนสามารถส่งผลกระทบโดยตรงต่อองค์กรภาครัฐและผู้ถือประโยชน์ร่วมได้เช่นกัน หากถูกนำไปประยุกต์ใช้กับองค์กรของรัฐที่เน้นในเรื่องการให้บริการด้านสุขภาพแก่ประชาชน เช่น โรงพยาบาลรัฐ ที่มีผลิตผลคือ การรักษาร่างกาย หรือ การให้บริการทางแพทย์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการจัดการในรูปแบบภาคเอกชนของโรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งโรงพยาบาลภาครัฐระดับทุติยภูมิในเครือของคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยนำ 5 ส่วนประกอบหลักจากระบบการบริการภาคเอกชนและประชาชนจากมาตรฐานด้านการจัดการและสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐมาใช้เป็นกรอบแนวคิด ว่าด้วยเรื่อง ประสิทธิภาพคุณภาพ ความเท่าเทียม การตอบสนอง และความพร้อมในการให้บริการ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างระบบการจัดการมาตรฐานของโรงพยาบาลภาครัฐในรูปแบบการดำเนินการแบบเอกชน การวิจัยเรื่องนี้ดำเนินการวิจัยตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการศึกษาเอกสารจากข้อปฏิบัติในระบบการบริการภาคเอกชนและประชาชนจากมาตรฐานด้านการจัดการและสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐและงานวรรณกรรมอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับกรอบความคิดการดำเนินการรูปแบบเอกชนและการบริการสาธารณสุข เพื่อใช้อธิบายว่าการนำรูปแบบการดำเนินการแบบเอกชนมาใช้ในภาคสาธารณสุขสามารถสร้างค่านิยมทางสังคมและส่งผลกระทบต่อสังคมอย่างไรได้บ้าง อีกหนึ่งวิธีที่ใช้คือวิธีการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อที่จะสามารถได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและตรงตามสาระสำคัญสำหรับการศึกษาในครั้งนี้ผลการวิจัยพบว่า การนำรูปแบบการดำเนินการภาคเอกชนมาใช้ในโรงพยาบาลศิริราชปิยิมหาราชการุณย์ ช่วยนำพาให้โรงพยาบาลเกิดการพัฒนาได้ในระดับหนึ่ง เช่น เรื่องประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สูงสุด ประสิทธิภาพในพัฒนาทางการเงิน ประสิทธิภาพในการให้บริการรวดเร็วยิ่งขึ้น หรือ เรื่องคุณภาพของการให้บริการสุขภาพที่ได้รับการรับรองจากมาตรฐานสากล JCI ซึ่งทำให้โรงพยาบาลศิริราชปิยิมหาราชการุณย์สามารถยกระดับการบริการด้านสุขภาพให้ดีกว่าโรงพยาบาลศิริราช ภาครัฐ ที่ยึดปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐาน HA อย่างไรก็ตาม ทั้งสองโรงพยาบาลยึดมั่นในคุณภาพการรักษาเดียวกัน ถึงแม้ว่าโครงการบริการการแพทย์ในรูปแบบภาคเอกชนจะตอบสนองความต้องการของบุคลากรทางการแพทย์และกลุ่มผู้ป่วยที่สามารถจ่ายได้ ข้อเสียที่ปรากฎขึ้นจากการก่อตั้งโรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์ คือ ปัญหาเรื่องความไม่เท่าเทียม เช่น อุปสรรคทางการเงินที่เกิดจากการให้บริการสุขภาพในรูปแบบภาคเอกชน ซึ่งทำให้การให้บริการดังกล่าวขึ้นอยู่กับความสามารถในการจ่ายมากกว่าความพึงปรารถนาของผู้รับที่จะได้รับบริการ อุปสรรคที่เกิดจากการติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกในโรงพยาบาลแบบภาคเอกชน ซึ่งส่งผลให้เกิดข้อกำจัดในการเข้ารับบริการสำหรับผู้ป่วยที่มีศักยภาพในการจ่ายที่น้อยกว่า และอุปสรรคทางวัฒนธรรมขององค์กรที่เกิดจากการนำรูปแบบการให้บริการภาคเอกชนมาใช้ในโรงพยาบาล ซึ่งส่งผลให้บุคลากรทางการแพทย์ปฎิบัติตนไม่เป็นธรรมเพราะผู้ป่วยที่มีศักยภาพในการจ่ายเท่านั้นที่สามารถตอบสนองความต้องการแก่แพทย์เหล่านี้ได้ อีกหนึ่งปัญหาสุดท้ายที่สังเกตได้จากการนำรูปแบบการให้บริการภาคเอกชนมาใช้ในโรงพยาบาลภาครัฐคือ จำนวนการให้บริการรักษาทางการแพทย์ที่มีราคาสูงและเฉพาะทางที่เท่าไม่กัน ซึ่งโรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์มีมากกว่าโรงพยาบาลศิริราชภาครัฐ เพราะการดำเนินการในรูปแบบเอกชนมักให้ความสำคัญกับเรื่องการพัฒนาทางการเงินมากกว่าความเท่าเทียมen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.269-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.titleThe Design of Thailand International Public Sector Standard Management System and outcomes in Service for The Private Sector and People System (P.S.O. 1107): Case study of Siriraj Piyamaharajkarun Hospitalen_US
dc.title.alternativeการออกแบบระบบมาตรฐานด้านการจัดการและสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ ในเรื่องระบบบริการภาคเอกชนและประชาชน (P.S.O. 1107) ของโรงพยาบาลศิริราชen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Artsen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineGovernance-
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorNo Information provided-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.269-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pol_6081203024_Thesis_2018.pdf927.56 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.