Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73254
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรัตน์ ปทุมเจริญวัฒนา | - |
dc.contributor.author | โชติรส สุวรรณรัตน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-05T03:22:44Z | - |
dc.date.available | 2021-05-05T03:22:44Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73254 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาบริบทของชุมชนย่าน เมืองเก่า จังหวัดสงขลา ทีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา (2) เพื่อศึกษาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผ่านการท่องเที่ยวโดยชุมชน (3)เสนอแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอด ชีวิตผ่านการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยทำการวิจัยทั้งหมด 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่1ศึกษาบริบทของ ชุมชนย่านเมืองเก่า จังหวัดสงขลา ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา โดยศึกษาจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในชุมชนทั้งหมด 17 คน เครื่องมือที่ใช้คือการสัมภาษณ์จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในชุมชนย่านเมืองเก่า จังหวัดสงขลา ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยมี กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 400 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ขั้นตอน ที่3 เสนอแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านการท่องเที่ยวโดย ชุมชน ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนมีบริบทการจัดการศึกษาในชุมชน มีสถานที่และบุคคลที่สามารถ พัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ได้ เมื่อศึกษาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักท่องเที่ยวพบว่ามีทักษะการ ค้นหาคาตอบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (x̄ = 4.29) และทักษะความคิดสร้างสรรค์มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ( x̄ = 2.54) จากนั้นผู้วิจัยนาผลที่ได้จากการวิจัยมาพัฒนาเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริม ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านการท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยประกอบด้วย 3 แนวทาง ได้แก่ 1.แนว ทางการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน ได้แก่การส่งเสริมให้โรงเรียนมาเรียนรู้ร่วมกับชุมชน 2.แนว ทางการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน ได้แก่ การส่งเสริมให้การศึกษานอกโรงเรียนเข้าไปมีส่วน ร่วมในชุมชน และ 3.แนวทางการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่ ชุมชนจัดการศึกษาโดยให้ใช้สิ่งที่ มีในชุมชนมาจัดการศึกษาในชุมชน | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research is a survey research aimed to study (1) the context of the old town community that related to educational management, (2) to study the lifelong learning skills through community based tourism, and (3) to present educational guidelines to promote lifelong learning skills through community based tourism.The research methodology consisted of 3 steps. Step 1: study the context of the old town community, Songkhla province that associated with the educational management by 17 stakeholders who are involved in the community, the interview questionnaire were used, Step 2 : study the lifelong learning skills through community. There’s a sample group of 400 people were use for lifelong learning skills interview questionnaires. Step 3:Study the guideline of educational management to promote lifelong learning skills through community based tourism. The results found the guideline of lifelong learning educational management through community based tourism. There are learning resources in the community, and there are still places and persons that can develop to be learning resources. From the interview questionnaires, the community learning skill found that the travelers gained the most average of searching skill significantly and creative skill is the lowest average (x̄ = 2.54) Then the researcher gathered all the results to developed to be the approach in order to promote lifelong learning skills through community based tourism 1. Guidelines for educational management in the school system Namely, encouraging schools to learn together with the community 2. Guidelines for the management of non-formal education such as promoting non-formal education to participate in the community and 3. Approach to informal education such as community education by using what is available in the community to manage education in the community. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.716 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การศึกษานอกระบบโรงเรียน | - |
dc.subject | การศึกษาต่อเนื่อง | - |
dc.subject | การท่องเที่ยวโดยชุมชน | - |
dc.subject | Non-formal education | - |
dc.subject | Continuing education | - |
dc.title | แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านการท่องเที่ยวโดยชุมชน | en_US |
dc.title.alternative | Organizing education guideline to enhance lifelong learning skills Through community based tourism | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การศึกษานอกระบบโรงเรียน | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2018.716 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Edu_5983411127_Chotirot Su.pdf | 2.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.