Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74076
Title: การสังเคราะห์แบบพิสเซอร์-โทรป โดยใช้เตาปฏิกรณ์เคมีแบบสเลอร์รี
Other Titles: Fischer-thropsch synthesis by using slurry reactor
Authors: สุรพงษ์ ศุภจรรยา
Advisors: ปิยะสาร ประเสริฐธรรม
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: ปิโตรเลียม -- การสังเคราะห์
พิสเซอร์-โทรป
Petroleum -- Synthesis
Fischer-thropsch
Issue Date: 2528
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการสังเคราะห์น้ำมันดิบ จากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ และก๊าซไฮโดรเจนโดยวิธีการแบบฟิสเชอร์-โทรป ในเตาปฏิกรณ์เคมีแบบสเลอร์รี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายใน 0.94 ซม. ยาว 25 ซม. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็กหลอม ของบริษัทไอซีไอ นำมาบดให้มีขนาดเล็กกว่า 61 ไมครอน และแขวนลอยอยู่ในไขโพลีเอธิลีน ก๊าซสังเคราะห์ที่ใช้มีอัตราส่วนของ H2:CO = 1:1 การสังเคราะห์กระทำที่อุณหภูมิ 220, 250 และ 280 ºซ, กความดัน 10 และ 20 บรรยากาศ และความเร็วเชิงสเปซประมาณ 200, 300 และ 400 ซม.-1 ผลการทดลองปรากฎว่า เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ การเปลี่ยนรูปของก๊าซสังเคราะห์จะเพิ่มขึ้น, ปริมาณของก๊าซไฮโดรคาร์บอนจะเพิ่มขึ้น, ปริมาณของไฮโดรคาร์บอนหนักจะลดลงและปริมาณของผลิตภัณฑ์ในช่วงก๊าซโซลีนจะคงที่ เมื่อเพิ่มความเร็วเชิงสเปซการเปลี่ยนรูปของก๊าซสังเคราะห์จะลดลง และการกระจายของผลิตภัณฑ์ไฮโดรคาร์บอนจะมีค่าใกล้เคียงกัน และเมื่อเพิ่มความดัน การเปลี่ยนรูปของก๊าซสังเคราะห์จะเพิ่มขึ้น , ปริมาณของก๊าซไฮโดรคาร์บอนจะลดลง และปริมาณของไฮโดรคาร์บอนหนักจะเพิ่มขึ้น
Other Abstract: This thesis is to synthesis curde oil from carbonmonoxide and hydrogen gas by Fischer-Tropsch synthesis in slurry reactor (inside diameter 0.94 cm., length 25 cm.). The ICI fused iron catalyst was used griding less than 61 micron and suspended in polyethylene wax. The experiment was conducted with the condition of H2:CO = 1:1 at 200℃, 250℃, 280℃, 10 and 20 atmosphere, with the space velocity of 200, 300 and 400 hr-1. The results show that by increasing temperature will increase gas conversion and amount of hydrocarbon gas but decrease the amount of heavy hydrocarbon. And the amount of gasoline products are stable. Increasing space velocity will decrease gas conversion and no different in hydrocar bon product distribution. Increasing pressure will increase gas conversion but decrease the amount of hydrocarbon gas. The amount of heavy hydrocarbon also increased.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมเคมี
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74076
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1985.39
ISSN: 9745661112
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1985.39
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surapong_su_front_p.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ1.91 MBAdobe PDFView/Open
Surapong_su_ch1_p.pdfบทที่ 11.89 MBAdobe PDFView/Open
Surapong_su_ch2_p.pdfบทที่ 22.19 MBAdobe PDFView/Open
Surapong_su_ch3_p.pdfบทที่ 311.88 MBAdobe PDFView/Open
Surapong_su_ch4_p.pdfบทที่ 46.02 MBAdobe PDFView/Open
Surapong_su_ch5_p.pdfบทที่ 5916.28 kBAdobe PDFView/Open
Surapong_su_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.