Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74210
Title: ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบสอนเนื้อหา และแบบเกม กับความถนัดทางการเรียน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Other Titles: Interaction of tutorial and games lesson in computer-assisted instruction and scholastic aptipude upon mathematics learning achievement of prathom suksa six students
Authors: สมเกียรติ อินทชาติ
Advisors: สุกรี รอดโพธิ์ทอง
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Sugree.R@chula.ac.th
Subjects: คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน
ระดับสติปัญญา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
Computer-assisted instruction
Intelligence levels
Academic achievement
Mathematics -- Study and teaching ‪(Elementary)‬
Issue Date: 2533
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพี่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ สอนเนื้อหาและแบบเกมกับความถนัดทางการเรียน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนประถมปีที่ 6 จำนวน 90 คน ใช้ข้อสอบมาตรฐานวัดความถนัดทางการเรียน ของสำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มศว ประสานมิตร แบ่งนักเรียนออกเป็นระดับสูง กลาง และต่ำ ระดับละ 30 คน และแบ่งแต่ละระดับออกเป็น 2 กลุ่มเท่า ๆ กันด้วยวิธีการจับคู่ ใช้วิธีลุ่มอย่างง่ายเพื่อจัดกลุ่มเข้าศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบสอนเนื้อหา หรือแบบเกม นำผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ 2 ทาง ผลการวิจัยสรุปได้ว่า นักเรียนที่มีความถนัดทางการเรียนแตกต่างกันจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนที่เรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบสอนเนื้อหาและแบบเกม จะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 แต่ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบสอน เนื้อหาและแบบเกมกับความถนัดทางการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Other Abstract: The purpose of this study was to examine an interaction of tutorial and games lesson in CAI and scholastic aptitude upon mathematics learning achivevement of prathom suksa six students. Ninety subjects were divided into high, medium and low aptitude groups based on Scholastic Aptitude Test of Sri nakharinwirot University scores. Then divided each group in to two sub-groups by matched-pair method and randomly assigned to CAI tutorial or CAI games. Two-way ANOVA was used to analyze data. The findings indicated that there was a significant difference among levels of scholastic aptitude. There was a significant difference in achievement between CAI tutorial and CAI games. No significant interaction was found between CAI tutorial/ games and levels of scholastic aptitudeat .05.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: โสตทัศนศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74210
ISBN: 9745778117
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somkiat_in_front_p.pdf917.85 kBAdobe PDFView/Open
Somkiat_in_ch1_p.pdf877.34 kBAdobe PDFView/Open
Somkiat_in_ch2_p.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open
Somkiat_in_ch3_p.pdf938.63 kBAdobe PDFView/Open
Somkiat_in_ch4_p.pdf688.37 kBAdobe PDFView/Open
Somkiat_in_ch5_p.pdf857.02 kBAdobe PDFView/Open
Somkiat_in_back_p.pdf781.14 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.