Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75296
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวุฒิพงษ์ ศิริจันทรานนท์-
dc.contributor.authorพรนภา สีมามหรรณพ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-08-29T10:14:20Z-
dc.date.available2021-08-29T10:14:20Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75296-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562en_US
dc.description.abstractเอกัตศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง กับการจัดการปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 ในประเทศไทย และศึกษามาตรการทางภาษีเพื่อลดปัญหา PM 2.5 ซึ่งเป็นมลพิษทางอากาศของประเทศญี่ปุ่น ที่มีการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยคํานึง ถึงองค์ประกอบทั้งกระบวนการผลิต การจัดส่ง การจําหน่าย ประกอบกับมีการบันทึกปริมาณ ค่าฝุ่น และปรับลดเพดานมาตรฐาน PM 2.5 มาอย่างต่อเนื่อง ทําให้มีปริมาณฝุ่นละออง PM 2.5 น้อยลงเป็นจํานวนมาก นับว่าเป็นประเทศที่สามารถพัฒนาภาคอุตสาหกรรมควบคู่ไปกับการรักษา สภาพแวดล้อมเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยได้ส่งผลกระทบอย่างมากต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ของประชาชน โดยเฉพาะฝุ่นละออง PM 2.5 ที่เป็นปัญหามลพิษที่สําคัญ และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขณะที่มาตรการทางกฎหมายที่ใช้บังคับในประเทศไทย ยังไม่ครอบคลุมการแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 ประกอบกับมีการบังคับใช้กฎหมาย โดยยึดถือหลักการบังคับและควบคุม และขาดมาตรการที่สร้างแรงจูงใจให้กับภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ในการร่วมมือกันแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 ซึ่งปัจจุบันประเทศไทย ได้ให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีกิจการบางประเภทเท่านั้น จึงไม่อาจจูงใจให้ผู้ประกอบการทุกภาคส่วน หันมาช่วยกันบรรเทาความรุนแรงของปัญหานี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะที่ประเทศญี่ปุ่น นอกจากจะมีมาตรการทางกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง กับการจัดการปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 แล้ว ยังได้นํามาตรการทางภาษีมาใช้สร้างแรงจูงใจ ให้ประชาชน ผู้ประกอบการต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการลดการก่อฝุ่นละออง PM 2.5 อย่างการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีการยกเว้นอัตราภาษีการหักรายจ่ายที่เกิดจากกิจกรรมใดๆ ที่ช่วยลดการปล่อยฝุ่นได้มากกว่าที่จ่ายจริง ผู้เขียนจึงเสนอแนะให้มีการนําแนวทางมาตรการทางภาษี ของประเทศญี่ปุ่นมาปรับใช้กับการลดปริมาณฝุ่นละออง PM 2.5 ในประเทศไทยโดยครอบคลุม ทุกภาคส่วน เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดําเนินธุรกิจ ที่จะส่งผลให้เกิดการลดฝุ่นละออง PM 2.5 ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2019.122-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสิทธิประโยชน์ทางภาษี -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectฝุ่นen_US
dc.titleการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเงินได้นิติบุคคลเพื่อลดปัญหาการปล่อยฝุ่นละออง PM 2.5en_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.subject.keywordฝุ่นละออง PM 2.5en_US
dc.subject.keywordมลพิษทางอากาศen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2019.122-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6186169434.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.