Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75489
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSumaeth Chavadej-
dc.contributor.advisorPramoch Rangsunvigit-
dc.contributor.authorNicharee Chaona-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2021-09-14T15:21:40Z-
dc.date.available2021-09-14T15:21:40Z-
dc.date.issued2012-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75489-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012en_US
dc.description.abstractHydrogen is an ideal energy source for the future due to its versatile application and environmentally friendly properties. Photocatalytic water splitting is a chemical reaction for producing hydrogen by using water and solar energy. This work focused on hydrogen production from photocatalytic water splitting under visible light irradiation using Eosin Y-sensitized mesoporous-assembled TiO2-SiO2, TiO2-ZrO2, and SrTixZr1-xO3 photocatalysts with bimetallic Pt-Ag loading were synthesized by the sol-gel process with the aid of a structure-directing surfactant at the Ti-to-Si molar ratio of 97:3 calcined at 500 °C, Ti-to-Zr molar ratio of 93:7 calcined at 500 °C, and SrTixZr1-xO3 with Ti-to-Zr molar ratio of 93:7 calcined at 700 °C. The photocatalytic activity, including phase composition, and Pt and Ag loadings, were investigated. The experimental results showed that the bimetallic Pt-Ag loadings with suitable contents by the photochemical deposition method were found to greatly enhance the photocatalytic activity of the assembled 0.97TiO2-0.03SiO2, 0.93TiO2-0.07ZrO2, and SrTi0.93Zr0.07O3 photocatalyst.-
dc.description.abstractalternativeไฮโดรเจน เป็นแหล่งพลังงานในอุดมคติในอนาคต เนื่องจาก ไฮโดรเจนมีประโยชน์ หลายอย่างและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปฏิกิริยาการแตกโมเลกุลของน้ำโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบ ใช้แสงร่วมเป็นกระบวนการในอุดมคติในการผลิตไฮโดรเจน โดยการใช้น้ำและพลังงานแสง งานวิจัยนี้มุ่งเน้นการผลิตไฮโดรเจนจากกระบวนการแตกโมเลกุลของน้ำด้วยปฏิกิริยาแบบใช้แสง ร่วมภายใต้สภาวะที่มีแสงในช่วงที่ตามองเห็น โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมไททาเนียมไดออกไซด์-ซิลิคอนไดออกไซด์, ไททาเนียมไดออกไซด์-เซอร์โคเนียมไดออกไซค์ และ สตรอนเทียมไททาเนียมเซอร์โคเนต ที่มีการเติมตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมโลหะแบบผสมของแพลทินัม และเงิน โดยมีการกระตุ้นด้วยสีย้อม โดยตัวเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมดังกล่าวถูกสังเคราะห์ขึ้น โดยกระบวนการโซลเจลควบคู่กับการใช้สารลดแรงตึงผิวเป็นสารต้นแบบ ที่มีอัตราส่วนโดยโมล ของไททาเนียมไดออกไซด์ต่อซิลิคอนไดออกไซด์ที่ค่า 97 ต่อ 3 แคลไซน์ที่อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส, ไททาเนียมไดออกไซด์ต่อเซอร์โคเนียมไดออกไซด์ที่ค่า 93 ต่อ 7 แคลไซน์ที่อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส และสตรอนเทียมไททาเนียมเซอร์โคเนตที่มีอัตราส่วนโดยโมลของ ไททาเนียมไดออกไซด์ต่อเซอร์โคเนียมไดออกไซด์ที่ค่า 93 ต่อ 7 แคลไซน์ที่อุณหภูมิ 700 องศาเซลเซียส โดยได้ศึกษาถึงประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมของตัวเร่งปฏิกิริยาด้วย การเติมแพลทินัมและเงิน จากผลการทดลองพบว่าโลหะแบบผสมของแพลทินัมและเงิน ในปริมาณที่เหมาะสมบนพื้นผิวของตัวเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมด้วยวิธีการยึดเกาะด้วย กระบวนการเคมีโดยใช้แสงร่วม ถูกพบว่าช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฮโดรเจนของตัวเร่ง ปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมไททาเนียมไดออกไซด์-ซิลิคอนออกไซด์, ไททาเนียมไดออกไซด์ เซอร์โคเนียมไดออกไซด์ และ สตรอนเทียมไททาเนียมเซอร์โคเนต อย่างมาก-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectHydrogen -- Production-
dc.subjectPhotocatalysis-
dc.subjectTitanium dioxide-
dc.subjectAlloys-
dc.subjectSilica-
dc.subjectไฮโดรเจน -- การผลิต-
dc.subjectการเร่งปฏิกิริยาด้วยแสง-
dc.subjectไทเทเนียมไดออกไซด์-
dc.subjectโลหะผสม-
dc.subjectซิลิกา-
dc.titleHydrogen production from water splitting under visible light irradiation over mesoporous-assembled TiO₂-SiO₂, TiO₂-ZrO₂, and SrTixZr₁₋xO₃ nanocrystal photocatalysts with bimetallic Pt-Ag loadingen_US
dc.title.alternativeการผลิตไฮโดรเจนจากการแตกโมเลกุลของน้ำภายใต้สภาวะที่มีแสงในช่วงตามองเห็นโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนียมไดออกไซด์-ซิลิคอนไดออกไซด์, ไททาเนียมไดออกไซด์-เซอร์โคเนียมไดออกไซด์ และ สตรอนเทียมไททาเนียมเซอร์โคเนตที่เกาะตัวกันจนมีรูพรุนขนาดเมโซพอร์ที่ถูกกระตุ้นด้วยโลหะแบบผสมของแพลทินัมและซิลเวอร์en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePetrochemical Technologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorSumaeth.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorPramoch.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nicharee_ch_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.01 MBAdobe PDFView/Open
Nicharee_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1649.62 kBAdobe PDFView/Open
Nicharee_ch_ch2_p.pdfบทที่ 21.96 MBAdobe PDFView/Open
Nicharee_ch_ch3_p.pdfบทที่ 31.18 MBAdobe PDFView/Open
Nicharee_ch_ch4_p.pdfบทที่ 45.16 MBAdobe PDFView/Open
Nicharee_ch_ch5_p.pdfบทที่ 5621.81 kBAdobe PDFView/Open
Nicharee_ch_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก871.97 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.