Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75506
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorRatana Rujiravanit-
dc.contributor.authorPilailuck Pittayaapipon-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2021-09-15T04:07:25Z-
dc.date.available2021-09-15T04:07:25Z-
dc.date.issued2012-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75506-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012en_US
dc.description.abstractBacterial cellulose (BC) containing silk sericin, a novel wound dressing, was successfully developed. It is known that silk sericin, a glue-like protein in raw silk fibers, is useful for skin care applications due to its biocompatibility as well as antioxidant, moisturizing capabilities and promoting in wound healing process. However, pure sericin is quite fragile and difficult to fabricate. In this study, sericin, extracted from silk cocoons, was incorporated into BC pellicles. The BC pellicles, produced by Acetobacter xylinum, have an ultrafine Nano-fibril network structure, making it function like a hydrogel. Accordingly, BC is a good candidate for possible use as a wound dressing because of its capability to absorb wound exudate and provide a moist environment. Fourier transform infrared spectroscopy (FTIR), Kjeldahl analysis, and scanning electron microscope (SEM) observation indicated the presence of sericin in BC. The incorporation of sericin into BC resulted in the increase of water absorption capacity. The release rate of sericin and antioxidant activity increased with increasing sericin content in BC. The BC sample with higher sericin content exhibited a lower water vapor transmission rate, indicating that sericin could provide and maintain a moist environment. Moreover, BC containing sericin was non-cytotoxic to human dermal fibroblast cell lines.-
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้ได้ทำการพัฒนาแผ่นปิดแผลที่มีสมบัติเหมาะสมในการรักษาแผล โดยการเตรียมแผ่นปิดแผลจากแบคทีเรียเซลลูโลสที่เคลือบด้วยสารสกัดเซริซิน หรือ โปรตีนกาวไหม ที่มีบทบาทในการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการรักษาแผลได้ดี เนื่องจากเซริซินมีสมบัติต้านทานการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น คงสภาวะความชุ่มชื้นให้กับแผล รวมถึงเอื้อต่อการเจริญเติบโตของเซลล์และไม่เป็นพิษต่อเซลล์ แต่อย่างไรก็ตามเมื่อนำเซริซินมาขึ้นรูปจะมีลักษณะเปราะและไม่สามารถใช้งานได้ ดังนั้นจึงทำการเตรียมเซริซินร่วมกับแผ่นแบคทีเรียเซลลูโลส ที่ผลิตขึ้นจาก แบคทีเรียชนิด Acetobacter Xylinum มีโครงสร้างเป็นแบบตาข่ายร่างแหสามมิติ ลักษณะคล้ายไฮโดรเจล ซึ่งช่วยคงสภาวะความชุ่มชื้น พร้อมทั้งดูดซับน้ำเหลืองออกจากแผลได้มาก ตลอดจนถ่ายเทอากาศได้ดี และลอกออกจากแผลได้ง่ายโดยที่ไม่เกิดความเจ็บปวดและไม่ทำลายเนื้อเยื่อที่สร้างขึ้นมาใหม่ จากการศึกษา ลักษณะโครงสร้างทางเคมี ลักษณะสัณฐานวิทยา และปริมาณของเซริซินในแผ่นเส้นใยแบคทีเรียเซลลูโลส นั้นยืนยันว่าเซริซินสามารถเคลือบลงบนแผ่นเส้นใยแบคทีเรียเซลลูโลสได้ ผลจากการเคลือบเซริซินลงบนแผ่นเส้นใยแบคทีเรียเซลลูโลสพบว่าเมื่อ ปริมาณเซริซินที่เพิ่มขึ้น สามารถเพิ่มคุณสมบัติในการดูดซับน้ำ และลดอัตราการซึมผ่านของไอน้ำซึ่งแสดงให้เห็นว่า เซริซินมีความสามารถในการคงความชุ่มชื้นให้แก่แผลได้ดี สมบัติด้านการ ด้านทานปฏิกิริยาออกซิเดชั่น อัตราการปลดปล่อยของเซริซิน เพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณของเซริซินที่ใช้ เคลือบลงบนแผ่นเส้นใยเซลลูโลสสูงขึ้น จากการทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ผิวหนังพบว่าวัสดุปิดแผลที่เตรียมได้นี้ไม่เป็นพิษต่อเซลล์ผิวหนัง โดยสมบัติเด่นของเซริซินและเส้นใยแบคทีเรียเซลลูโลสดังกล่าวที่ทำหน้าที่ส่งเสริมกันนั้นสามารถประยุกต์ใช้เป็นวัสดุแผ่นปิดแผลที่มี ประสิทธิภาพในการช่วยรักษาแผลได้ดี-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectPlaster (Pharmacy)-
dc.subjectCellulose fibers-
dc.subjectSericin-
dc.subjectแผ่นปิดแผล-
dc.subjectเส้นใยเซลลูโลส-
dc.subjectเซริซิน-
dc.titlePreparation of bacterial cellulose containing silk sericin for wound dressing applicationen_US
dc.title.alternativeการเตรียมแผ่นปิดแผลจากเส้นใยแบคทีเรียเซลลูโลส และเซริซินen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePolymer Scienceen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorRatana.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pilailuck_pi_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ895.13 kBAdobe PDFView/Open
Pilailuck_pi_ch1_p.pdfบทที่ 1644.29 kBAdobe PDFView/Open
Pilailuck_pi_ch2_p.pdfบทที่ 21.42 MBAdobe PDFView/Open
Pilailuck_pi_ch3_p.pdfบทที่ 3747.35 kBAdobe PDFView/Open
Pilailuck_pi_ch4_p.pdfบทที่ 42.16 MBAdobe PDFView/Open
Pilailuck_pi_ch5_p.pdfบทที่ 5614.53 kBAdobe PDFView/Open
Pilailuck_pi_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.