Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75517
Title: Biodiesel production from palm oil using CaO-ZnO catalysts
Other Titles: การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มโดยใช้แคลเซียมออกไซด์-สังกะสีออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
Authors: Sirichai Chantara-arpornchai
Advisors: Apanee Luengnaruemitchai
Samai Jai-In
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: Apanee.L@Chula.ac.th
No information provided
Subjects: Biodiesel fuels
Palm oil
Lime
Zinc oxide
เชื้อเพลิงไบโอดีเซล
น้ำมันปาล์ม
ปูนขาว
สังกะสีออกไซด์
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The production of biodiesel from transesterification of palm oil with methanol was studied by using CaO-ZnO prepared by incipient-wetness impregnation (IWI) and co-precipitation (CP) methods as a heterogeneous base catalyst. The optimum conditions—15:1 molar ratio of methanol to oil, a catalyst amount of 6 wt.%, reaction temperature of 60 °C, and reaction time of 8 h—were suggested to obtain a biodiesel yield of 79.62 % and 78.88 % for the catalyst prepared by IWI and CP techniques (Ca:Zn atomic ratio of 1:3 and calcination temperature of 800 °C), respectively. During the three cycles of the catalyst’s durability observation, the durability of the CaO-ZnO catalyst prepared by IWI technique was much better than that of catalyst prepared by CP technique because the higher amounts of CaO remaining on the IWI catalyst attributed to less CaO leaching during the reaction, evidenced by XRD results of the spent catalysts.
Other Abstract: ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาการผลิตไบโอดีเซลจากปฏิกิริยาทรานส์เอสเตอร์ริฟิเคชันของ น้ำมันปาล์มกับเมทานอลโดยใช้แคลเซียมออกไซด์-สังกะสีออกไซด์ (CaO-ZnO) ที่เตรียมโดยวิธี incipient-wetness impregnation (IWI) and วิธี co-precipitation (CP) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธ์ จากผลการทดลองพบว่า อัตราส่วนโดยโมลระหว่างเมทานอลกับน้ำมันเท่ากับ 15:1 ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาร้อยละ 6 โดยน้ำหนัก อุณหภูมิในการเกิดปฏิกิริยาที่ 60 องศาเซลเซียส และ เวลาที่ใช้ในการทำปฏิกิริยา 8 ชั่วโมง เป็นปัจจัยที่เหมาะสมที่ให้ผลผลิต ไบโอดีเซลร้อยละ 79.62 และ 78.88 จากตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมโดยวิธี IWI และ CP ในอัตราส่วนอะตอมเท่ากับ 1:3 และ อุณหภูมิในการเผาที่ 800 องศาเซลเซียส ตามลำดับ ในระหว่าง 3 รอบของการสังเกตุความทนทาน ของตัวเร่งปฏิกิริยาพบว่า ความทนทานของตัวเร่งปฏิกิริยา CaO-ZnO ที่เตรียมโดยวิธี IWI ดีกว่า ของตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมโดยวิธี CP เพราะปริมาณของแคลเซียมออกไซด์ที่มากที่เหลืออยู่บนตัวเร่งปฏิกิริยา IWI ประกอบกับการหลุดออกของแคลเซียมออกไซด์ที่น้อยในระหว่างการทำปฏิกิริยา ซึ่งดูได้จากผล XRD ของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ผ่านการใช้แล้ว
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemical Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75517
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirichai_ch_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ885.69 kBAdobe PDFView/Open
Sirichai_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1629.49 kBAdobe PDFView/Open
Sirichai_ch_ch2_p.pdfบทที่ 21.07 MBAdobe PDFView/Open
Sirichai_ch_ch3_p.pdfบทที่ 3797.18 kBAdobe PDFView/Open
Sirichai_ch_ch4_p.pdfบทที่ 42.8 MBAdobe PDFView/Open
Sirichai_ch_ch5_p.pdfบทที่ 5615.93 kBAdobe PDFView/Open
Sirichai_ch_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.