Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75519
Title: Enhanced CO₂ adsorption by activated carbon impregnated with PEI
Other Titles: การเพิ่มการดูดซับคาร์บอนไดออกไซต์โดยใช้ถ่านกัมมันต์ที่ประกอบด้วยพอลิเอทิลีนไอมีน
Authors: Supasinee Pipatsantipong
Advisors: Pramoch Rangsunvigit
Santi Kulprathipanja
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: Pramoch.R@Chula.ac.th
No information provided
Subjects: Carbon dioxide -- Absorption and adsorption
Carbon, Activated
คาร์บอนไดออกไซด์ -- การดูดซึมและการดูดซับ
คาร์บอนกัมมันต์
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: To reduce carbon dioxide emissions into the atmosphere, adsorption is believed to be one of the most attractive methods for post-combustion treatment of flue gas. In this work, activated carbon (AC) was modified with polyethylenimine (PEI) via impregnation in order to enhance CO2 adsorption capacity. Adsorption was carried out in a temperature range from 30 to 75 °C of five different gas pressures up to 1 atm. TG-DTA, FT-IR, UV-visible spectrometer, and BET were used to characterize the adsorbents. At 30 °C, 0.22 wt.% PEI/AC gave lower adsorption capacity than the AC. That may be due to the pore filling effect that blocks the pores of the adsorbent preventing CO2 to diffuse into the pores. Surprisingly, at 75 °C, 0.28 wt.% PEI/AC gave higher adsorption capacity when compared with the AC and other PEI loadings. The modified AC maintained its adsorption capacity with minimal loss after regeneration.
Other Abstract: ในการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ การดูดซับถือเป็นวิธีที่น่าสนใจมากที่สุด สำหรับการบำบัดก๊าซพิษหลังจากผ่านกระบวนการเผาไหม้ ในงานวิจัยนี้ได้ ปรับปรุงถ่านกัมมันต์ โดยใช้พอลิเอทิลีนไอมีน ผ่านกระบวนการฝังเปียก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในช่วงอุณหภูมิ 30 ถึง 75 องศาเซลเซียส ที่ความดันแตกต่างกัน 5 จุด ตั้งแต่ 0 ถึง 1 ความดันบรรยากาศ การวัดสมบัติทางความร้อนของสารทำโดยเครื่อง TGDTA, การวัดหมู่ฟังก์ชันโดยเครื่อง FTIR, การวัดความเข้มข้นของสารโดยเครื่อง UV-visible spectrometer และ การวัดสมบัติทางกายภาพของสารโดยเครื่อง BET ถ่านกัมมันต์ที่มีพอลิเอทิลีนไอมีน ร้อยละ 0.22 โดยน้ำหนัก มีประสิทธิภาพในการดูดซับต่ำกว่าถ่านกัมมันต์ ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ซึ่งอาจเกิดจากพอลิเอทิลีนไอมีนปิดกั้นรูพรุนบนพื้นผิวของถ่านกัมมันต์ ทำให้ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไม่สามารถถูกดูดซับเข้าไปภายในรูพรุนได้ แต่อย่างไรก็ตาม ที่อุณหภูมิ 75 อาศาเซลเซียส ถ่านกัมมันต์ที่ประกอบด้วยพอลิเอทิลีน ร้อยละ 0.28 โดยน้ำหนัก ให้ประสิทธิภาพในการดูดซับสูงกว่า ถ่านกัมมันด์และถ่านกัมมันต์ที่ประกอบด้วยด้วยโพลิเอทิลีนไอมีนที่ความเข้มข้นอื่น จากการศึกษา พบว่า หลังกระบวนการฟื้นสภาพ ถ่านกัมมันต์ที่ประกอบด้วยพอลิเอทิลีน สามารถรักษาคุณภาพในการดูดซับได้
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemical Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75519
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supasinee_pi_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ862 kBAdobe PDFView/Open
Supasinee_pi_ch1_p.pdfบทที่ 1650.44 kBAdobe PDFView/Open
Supasinee_pi_ch2_p.pdfบทที่ 21.49 MBAdobe PDFView/Open
Supasinee_pi_ch3_p.pdfบทที่ 3702.96 kBAdobe PDFView/Open
Supasinee_pi_ch4_p.pdfบทที่ 41.49 MBAdobe PDFView/Open
Supasinee_pi_ch5_p.pdfบทที่ 5630.21 kBAdobe PDFView/Open
Supasinee_pi_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.