Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75556
Title: Effects of adsorbents on the crystallization of chloronitrobenzenes
Other Titles: การศึกษาผลกระทบของสารดูดซับที่มีต่อการตกผลึกของคลอโรไนโตรเบนซีน
Authors: Jeeranun Neaungjumnong
Advisors: Pramoch Rangsunvigit
Santi Kulprathipanja
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: Pramoch.R@Chula.ac.th
No information provided
Subjects: Adsorption
Crystallization
Chloronitrobenzenes
การดูดซับ
การตกผลึก
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Crystallization of chloronitrobenzenes (CNBs) with the presence of an adsorbent was investigated. Equilibrium binary component adsorption experiments of m-CNB and p-CNB on NaX, CaX, BaX, NaY, CaY, KY, Al2O3, SiO2, activated carbon and glass beads were performed. The results indicated that selectivity and adsorption of m-CNB and p-CNB depended on the adsorbent. Effects of feed composition on crystallization of m- and p-CNB were then studied with below, at, and above the eutectic composition (61.0, 62.9, and 63.5 wt.% m-CNB in the feed, respectively). In the experiments, the system was cooled by cooling water from 30 °C to crystallization temperature. The crystal composition was then measured by a gas chromatograph. The results conformed to the binary phase diagram of m- and p-CNB. On the other hand, the crystals from the feed with adsorbents were rich in p-CNB for both at and above the eutectic composition, and the crystals near the adsorbents had higher p-CNB purity than those far from the adsorbents.
Other Abstract: งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการศึกษาการตกผลึกของคลอโรไนโตรเบนซีนโดยที่มีสารดูดซับในระบบ เพื่อแยกคลอโรไนโตรเบนซีนซึ่งเป็นสารอนุพันธ์ที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกัน การทดลองแรก เป็นการศึกษาการดูดซับพารา-เมทาคลอโรไนโตรเบนซีนโดยใช้สารดูดซับ นอกจากนี้ใช้สารผสมคลอโรไนโตรเบนซีนที่มีสัดส่วนของเมทาคลอโรไนโตรเบนซีน ที่ 62.9 และ 63.5 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนักของสารผสม จากนั้นลดอุณหภูมิของระบบจนถึงจนถึงอุณหภูมิตกผลึกของสารผสม และวิเคราะห์หาองค์ประกอบของการผลึกโดยเทคนิคก๊าซโครมาโตกราฟ จากผลการวิจัยพบว่า สารที่เกิดขึ้นมีลักษณะอสัณฐานมีองค์ประกอบใกล้เคียงกับสารผสมเริ่มต้นและสารที่มีลักษณะ ผลึกใสมีองค์ประกอบใกล้เคียงกับเมทาคลอโรไนโตรเบนซีนบริสุทธิ์ สําหรับการตกผลึกของสารผสมที่มีสัดส่วนเมทาคลอโรไนโตรเบนซีนที่ 62.9 และ 63.5 เปอร์เซนต์ ตามลําดับ ในทางกลับกัน เมื่อมีสารดูดซับในกระบวนการตกผลึก ผลึกที่เกิดขึ้นมีองค์ประกอบของพาราคลอโรไนโตรเบนซีนในสารผสมทั้งที่มีสัดส่วนเมทาคลอโรไนโตรเบนซีนที่ 62.9 และ 63.5 เปอร์เซนต์ โดยผลึกที่เกิดขึ้นที่ตําแหน่งใกล้สารดูดซับจะมีองค์ประกอบของพาราคลอโรไนโตรเบนซีน สูงกว่าผลึกที่ตำแหน่งไกลจากสารดูดซับออกไป
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petroleum Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75556
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jeeranun_ne_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ260.85 kBAdobe PDFView/Open
Jeeranun_ne_ch1_p.pdfบทที่ 159.46 kBAdobe PDFView/Open
Jeeranun_ne_ch2_p.pdfบทที่ 2707.16 kBAdobe PDFView/Open
Jeeranun_ne_ch3_p.pdfบทที่ 3273.21 kBAdobe PDFView/Open
Jeeranun_ne_ch4_p.pdfบทที่ 41.38 MBAdobe PDFView/Open
Jeeranun_ne_ch5_p.pdfบทที่ 553.33 kBAdobe PDFView/Open
Jeeranun_ne_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก146.03 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.