Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75560
Title: Partial hydrogenation of polyunsaturated fatty acid methyl ester for biodiesel upgrading using palladium supported on silica
Other Titles: กระบวนการเติมไฮโดรเจนบางส่วนของกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัวในน้ำมันไบโอดีเซลสำหรับการพัฒนาคุณภาพของเชื้อเพลิงไบโอดีเซลโดยใช้ตัวเร่งปฏิกริยาพาลาเดียมบนซิลิกา
Authors: Kullasap Simakul
Advisors: Apanee Luengnaruemitchai
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: Apanee.L@Chula.ac.th
Subjects: Hydrogen
Biodiesel fuels
Palladium catalysts
Silica
ไฮโดรเจน
เชื้อเพลิงไบโอดีเซล
ตัวเร่งปฏิกิริยาแพลเลเดียม
ซิลิกา
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Biodiesel or fatty acid methyl ester (FAME) can be produced by transesterification of vegetable oils with methanol in the presence of a catalyst. However, some biodiesel properties such as oxidative stability and cold flow properties depend on the degree of unsaturation in FAME chains. If vegetable oils contain higher amounts of unsaturated fatty acid, they have lower oxidative stability but good cold flow properties. Therefore, the quality of biodiesel can be improved by partial hydrogenation. This research focused on the catalytic performance of partial hydrogenation of polyunsaturated FAMEs from palm oil using palladium supported on silica (Pd/SiO2), prepared by the incipient wetness impregnation method, as a catalyst. The effects of pore size of the support and Pd loading on catalytic activity were also studied. The partial hydrogenation reaction was performed in a batch reactor. The Pd/SiO2 were characterized by Gas Chromatograph, X-ray Diffractometer, Scanning Electron Microscope with Energy Dispersive Spectrometer, Temperature Programmed Desorption / Reduction / Oxidation analyzer and Atomic Absorption Spectrometer. The catalysts with large pore size (Q50) had higher activity and produced more trans-isomers.
Other Abstract: น้ำมันไบโอดีเซลหรือกรดไขมันเมทิลเอสเตอร์สามารถผลิตได้จากกระบวนการทรานเอสเตอร์ริฟิเคชั่นของน้ำมันพืชกับเมทานอล อย่างไรก็ตามคุณสมบัติบางประการของไบโอดีเซล เช่น เสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นและคุณสมบัติการไหลเทนั้นขึ้นอยู่กับจํานวนกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว ถ้ามีจํานวนกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัวสูง จะส่งผลให้ค่าเสถียรภาพต่อการ เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นต่ำแต่มีคุณสมบัติการไหลเทที่ดี ดังนั้นจึงต้องมีการพัฒนาคุณภาพของไบโอดีเซลโดยกระบวนการเติมไฮโดรเจนบางส่วน งานวิจัยนี้ศึกษาการทํางานของตัวเร่งปฏิกิริยาในกระบวนการเติมไฮโดรเจนบางส่วนบนกรดไขมันเมทิล เอสเตอร์ซึ่งผลิตจากน้ำมันปาลม์โดยใช้พาแลเดียมบนซิลิกาเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยานี้ถูกเตรียมโดยวิธีการทําให้ชุ่ม งานวิจัยนี้ศึกษาถึงผลกระทบของขนาดที่ต่างกันของรูของซิลิกาและเปอร์เซนต์ของพาแลเดียมบนซิลิกาอีกด้วย กระบวนการเติมไฮโดรเจนบางส่วนเกิดปฏิกิริยาในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ ตัวเร่งปฏิกิริยาพาแลเดียมบนซิลิกาถูกวิเคราะห์ลักษณะพิเศษโดยเครื่องมือหลายชนิด เช่น ก๊าซโครมาโตกราฟี เอกซเรย์ดิฟแฟรกชัน กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด เครื่องวิเคราะห์สมบัติผิวในการเกิดปฏิกิริยาวัสดุและอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรสโกปี หลังจากการทดลองแล้วพบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาพาแลเดียมบนซิลิกาที่มีขนาดรูของของซิลิกาใหญ่ มีประสิทธิภาพในกระบวนการ เติมไฮโดรเจนบางส่วนสูงและผลิตไอโซเมอร์ที่จัดเรียงตัวในทิศตรงข้ามกันมากขึ้น
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petroleum Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75560
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kullasap_si_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ304.85 kBAdobe PDFView/Open
Kullasap_si_ch1_p.pdfบทที่ 181.88 kBAdobe PDFView/Open
Kullasap_si_ch2_p.pdfบทที่ 21.01 MBAdobe PDFView/Open
Kullasap_si_ch3_p.pdfบทที่ 3235.54 kBAdobe PDFView/Open
Kullasap_si_ch4_p.pdfบทที่ 41.44 MBAdobe PDFView/Open
Kullasap_si_ch5_p.pdfบทที่ 539.44 kBAdobe PDFView/Open
Kullasap_si_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก441.6 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.