Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75915
Title: The hybrid pareto distribution, implied risk-neutral density and option pricing
Other Titles: การแจกแจงพาเรโตแบบผสม ความหนาแน่นทางความน่าจะเป็นโดยนัยที่เป็นกลางต่อความเสี่ยง และการคำนวนราคาตราสารสิทธิ
Authors: Purin Luanloy
Advisors: Thaisiri Watewai
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancy
Issue Date: 2020
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This paper aims to develop a new European option pricing model based on the Extreme Value Theory (EVT). We assume that, in the risk-neutral probability measure, simple negative returns of the S&P500 index follow the Hybrid Pareto (HP) distribution. Then, we derive closed-form pricing formulas for call and put options according to the risk-neutral pricing method. Additionally, we assume that the distribution has a fat tail. Our study’s benchmark model is the Generalized Extreme Value (GEV) model proposed by Markose and Alenton (2011). We estimate model parameters by minimizing the root-mean-square error. The results show that the HP model provides less root-mean-square errors than the GEV model in a 30-day to expiration options. Moreover, it outperforms the benchmark for the at-the-money options, but has a poorer fit for the out-of-the-money options.
Other Abstract: สารนิพนธ์ชิ้นนี้มีจุดประสงค์ที่จะพัฒนาตัวแบบจำลองสำหรับการคำนวณราคาตราสารสิทธิแบบยุโรปโดยมีทฤษฎีค่าสุดขีดเป็นพื้นฐาน วิธีการศึกษาเริ่มจากการตั้งสมมติฐานให้ค่าลบของผลตอบแทนของดัชนี Standard and Poor’s 500 มีการแจกแจงแบบพาเรโตแบบผสมในโลกความน่าจะเป็นที่เป็นกลางต่อความเสี่ยง (Risk-neutral probability) รวมถึงมีสมมติฐานให้การแจกแจงดังกล่าวเป็นประเภท fat-tailed จากนั้นจึงสร้างสมการสำหรับคำนวณราคาตราสารสิทธิทั้งประเภท call และ put โดยใช้วิธีการคำนวณราคาในโลกความน่าจะเป็นที่เป็นกลางต่อความเสี่ยง (Risk-neutral pricing) เช่นเดียวกัน การศึกษานี้ใช้ตัวแบบจำลองจากทฤษฎีค่าสุดขีดวางนัยทั่วไปเสนอโดย Markose and Alenton (2011)  เป็นตัวแบบวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ ค่าพารามิเตอร์สำหรับแต่ละตัวแบบจำลองประมาณได้จากการหาค่าเหมาะสมต่ำสุดของรากที่สองของค่าเฉลี่ยความผิดพลาดกำลังสอง ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าตัวแบบจำลองแบบพาเรโตแบบผสมให้ค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยความผิดพลาดกำลังสองที่ต่ำกว่าตัวแบบวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบในตราสารสิทธิชนิดที่เหลือเวลา 30 วันก่อนหมดอายุ นอกจากนี้ตัวแบบดังกล่าวยังให้ผลลัพธ์ที่ดีกว่าตัวแบบวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบสำหรับตราสารสิทธิประเภท at-the-money แต่สำหรับตราสารสิทธิประเภท out-of-the-money นั้นจะให้ผลลัพธ์ที่ด้อยลงไป
Description: Independent Study (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2020
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Financial Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75915
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.95
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.IS.2020.95
Type: Independent Study
Appears in Collections:Acctn - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6182945326.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.