Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76624
Title: | Effects of e-learning based on microlearning approach on undergraduate students’ English pronunciation |
Other Titles: | ผลของการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบจุลภาคที่มีต่อการออกเสียงภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต |
Authors: | Natcha Boonyabenjarit |
Advisors: | Ruedeerath Chusanachoti |
Other author: | Chulalongkorn university. Graduate school |
Subjects: | Activity programs in education Web-based instruction กิจกรรมการเรียนการสอน การเรียนการสอนผ่านเว็บ |
Issue Date: | 2020 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | This study aimed 1) to develop an e-learning based on the microlearning approach and 2) to examine quality of the developed e-learning. To examine the quality, three research instruments including pretest and posttest, a perception survey questionnaire and a quality evaluation form were used. The sample group consisted of 21 Thai undergraduate students in Faculty of Education at Chulalongkorn University. Descriptive statistics which were mean and standard deviation (SD) and one sample t-test were employed for the data analysis. The findings from one sample t-test, at a significance level of .05, illustrated the students’ noteworthy improvement of the pronunciation skills after receiving the treatment. Furthermore, the results from the perception survey questionnaire revealed their positive perception towards the e-learning. The experts' evaluation score also reflected its high-quality level. The study could be finally concluded that developing and using the microlearning-based e-learning is effective for the English phonetics and pronunciation class. |
Other Abstract: | วิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบจุลภาค และ 2) เพื่อประเมินคุณภาพสื่อที่ได้รับการพัฒนาขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเพื่อประเมินคุณภาพสื่อประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน แบบสำรวจการรับรู้ และแบบประเมินคุณภาพสื่อ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยนี้คือนักศึกษาชาวไทยระดับชั้นปริญญาตรีที่ศึกษาอยู่คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 21 คน มีการใช้สถิติเชิงบรรยายซึ่งได้แก่ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการทดสอบที (one sample t-test) ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาจากการทดสอบทีซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการออกเสียงของนักศึกษาที่พัฒนาขึ้นหลังการทดลอง อีกทั้งผลที่ได้จากแบบสำรวจการรับรู้พบว่านักศึกษามีการรับรู้เชิงบวกต่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าว ผลการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญสะท้อนให้เห็นคุณภาพสื่อระดับสูง การศึกษาครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่าการพัฒนาและการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบจุลภาคนั้นมีประสิทธิภาพต่อห้องเรียนสัทศาสตร์และการออกเสียงภาษาอังกฤษ |
Description: | Independent Study (M.A.)--Chulalongkorn University, 2020 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | English as an International Language |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76624 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.57 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.IS.2020.57 |
Type: | Independent Study |
Appears in Collections: | Grad - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6288035720.pdf | 1.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.