Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76757
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตวีร์ คล้ายสังข์-
dc.contributor.authorเบญจวรรณ งามอุไรรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-21T07:00:25Z-
dc.date.available2021-09-21T07:00:25Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76757-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลของความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษอย่างมีวิจารณญาณและความยึดมั่นผูกพันในการอ่านของนักเรียนจากการออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ส่วนบุคคล และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ส่วนบุคคลร่วมกับผู้ช่วยเสมือน 2) เปรียบเทียบผลความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษอย่างมีวิจารณญาณ และความยึดมั่นผูกพันในการอ่านก่อน และหลังเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลอง 3) เปรียบเทียบผลความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษอย่างมีวิจารณญาณ และความยึดมั่นผูกพันในการอ่านระหว่างนักเรียนกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง และ 4) วิเคราะห์ความสัมพันธ์คาโนนิคอลระหว่างความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษอย่างมีวิจารณญาณ และความยึดมั่นผูกพันในการอ่าน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมที่เรียนในในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ส่วนบุคคลจำนวน 35 คน และกลุ่มทดลองที่เรียนในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ส่วนบุคคลร่วมกับผู้ช่วยเสมือนจำนวน 35 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ รูปแบบการเรียนรู้ แบบทดสอบ แบบประเมินตนเอง แบบประเมินผลงานนักเรียน และแบบประเมินนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย การทดสอบค่าทีแบบDependent และIndependent และค่าสหสัมพันธ์คาโนนิคอล ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มทดลองมีความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษอย่างมีวิจารณญาณ และความยึดมั่นผูกพันในการอ่าน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05    2) กลุ่มทดลองมีความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่นักเรียนทั้งสองกลุ่มมีความยึดมั่นผูกพันในการอ่านไม่แตกต่างกัน และ 3) ความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษอย่างมีวิจารณญาณและความยึดมั่นผูกพันในการอ่านมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1) to study the learning outcomes of students’ English critical reading ability and reading engagement, 2) to compare the experimental group's English critical reading ability and reading engagement before and after the experiment, 3) to compare English critical reading ability and reading engagement between students of the control group and those of the experimental group, and 4) to analyze the Canonical Correlation between English critical reading ability and reading engagement. The samples were 35 students in a control group, and 35 students in an experimental group in two grade 9 classes of Mathayom Wat Nongkhaem School. The research instruments were learning designs, a test, a rubric score for assignment assessment, a self-assessment form, and an assessment form for a teacher. The data were analyzed by using descriptive statistics, Dependent and Independent t-test, and Canonical Correlation analysis. The results revealed that: 1) the experimental group had higher average scores of English critical reading ability and reading engagement than before the experiment at .05 level of significance, 2) the experimental group had higher average scores of English critical reading ability than the control group at .05 level of significance, but the reading engagement between two groups were not different, and 3) English critical reading ability correlated with reading engagement at .05 level of significance.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttps://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.512-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน-
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การอ่าน-
dc.subjectระบบการเรียนการสอน -- การออกแบบ-
dc.subjectEnglish language -- Computer-assisted instruction-
dc.subjectEnglish language -- Reading-
dc.subjectInstructional systems -- Design-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleผลการออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ส่วนบุคคลร่วมกับผู้ช่วยเสมือนที่มีต่อความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษอย่างมีวิจารณญาณและความยึดมั่นผูกพันในการอ่านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา-
dc.title.alternativeEffects of designing personal learning environment with virtual agent on English critical reading ability and reading engagement of secondary school students-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2020.512-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6280077527.pdf4.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.