Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77366
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKitipat Siemanond-
dc.contributor.advisorHenni, Amr-
dc.contributor.authorKoon Khonkaen-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2021-09-29T21:53:26Z-
dc.date.available2021-09-29T21:53:26Z-
dc.date.issued2014-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77366-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2014en_US
dc.description.abstractในบรรดาเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อนำมาแทนที่กระบวนการการจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หลังการเผาไหม้โดยใช้ตัวทำละลายเอมีน หนึ่งในเทคโนโลยีเหล่านั้นคือการใช้ของเหลวไอออนิก 1-เอทิล-3-เมทิลอิมิดาโซเลียม อะซิเตท ซึ่งได้รับการพิจารณาว่าเป็นตัวทำละลายที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีศักยภาพในการลดค่าใช้จ่ายให้กับกระบวนการการจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หลังการเผาไหม้ได้ ในงานวิจัยนี้กระบวนการการจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทั้งสองกระบวนการคือกระบวนการที่ใช้ตัวทำละลายเอมีนและกระบวนการที่ใช้ตัวทำละลาย ของเหลวไอออนิกได้ถูกจำลองขึ้นโดยใช้โปรแกรม แอสเพน พลัส เวอร์ชัน 7.1 เพื่อใช้จับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หลังจากการเผาไหม้จากโรงไฟฟ้าถ่านหินขนาด 180 เมกกะวัตต์เป็นปริมาณ ร้อยละ 90 ของปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งหมดที่ถูกปล่อยออกมา เนื่องจากข้อมูลเกี่ยวกับของเหลวไอออนิกที่ใช้ในงานวิจัยนี้ไม่มีปรากฎอยู่ในฐานข้อมูลของโปรแกรม แอสเพน พลัส ดังนั้นการใส่ข้อมูลเกี่ยวกับของเหลวไอออนิกโดยตรงและโหมดการวิเคราะห์การถดถอยข้อมูล ในโปรแกรมแอสเพน พลัส จึงถูกนำมาใช้ วิธีการของ ลินเดอร์เซน-โจแบค-เรียด ถูกนำมาใช้ในการคาดคะเนคุณสมบัติวิกฤติของ 1-เอทิล-3-เมทิลอิมิดาโซเลียม อะซิเตท พารามิเตอร์ ความสัมพันธ์ของสมบัติที่เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ, พารามิเตอร์อันตรกิริยาคู่ของโมเดล นอนแรนดอม ทู ลิควิด, พารามิเตอร์ของโมเดลค่าคงที่ของเฮนรี่และพารามิเตอร์สำหรับโมเดลการ คำนวณสมดุลเคมี ถูกนำมาวิเคราะห์การถดถอยโดยอาศัยข้อมูลคุณสมบัติของ 1-เอทิล-3-เมทิลอิมิ ดาโซเลียม อะซิเตท ที่มีการรายงานไว้แล้วในงานวิจัยก่อนหน้านี้ ปริมาณการใช้พลังงานและ ค่าใช้จ่ายในการลงทุนของกระบวนการการจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หลังการเผาไหม้ของทั้ง สองกระบวนการถูกนำมาเปรียบเทียบเพื่อพิจารณาศักยภาพของของเหลวไออนิกชนิดนี้ในการ นำมาใช้แทนที่ตัวทำละลายเอมีน ผลจากงานวิจัยพบว่า กระบวนการการจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ใช้ตัวทำละลายของเหลวไอออนิก 1-เอทิล-3-เมทิลอิมิดาโซเลียม อะซิเตท ใช้พลังงานน้อยกว่าและมีค่าใช้จ่ายในการลงทุนที่น้อยกว่าเมื่อเทียบกับกระบวนการการจับก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ที่ใช้ตัวทำละลายเอมีนเป็นร้อยละ 13.5 และ 3.75 ตามลำดับ-
dc.description.abstractalternativeAmong the emerging technologies created to replace the conventional monoethanolamine(MEA)-based process for post-combustion CO2 capture, one ionic liquid, l-Ethyl-3-methylimidazolium acetate ([emim][Ac]) is considered a potential solvent for green CO2 capture technology, with the added benefit of cost reduction. In this study, both CO2 capture processes (MEA and [emim][Ac]-based processes) were simulated to capture 90 % of CO2 from post-combustion flue gas based on a 180 MWe coal burning power plant, using Aspen Plus (V. 7.1). Since the databases of Aspen Plus do not provide any pure component data for [emim][Ac], the direct input information and data regression modes in Aspen Plus were employed. The “modified Lyndersen-Joback-Reid” group contribution method was used to estimate the critical properties of [emim][Ac], The temperature-dependent correlation parameters, the binary-interaction parameters for Non-Random Two Liquid model, the parameters of Henry’s constant model, and the parameters of equilibrium calculation model were regressed based on the reported properties of [emim][Ac] available in related literature. Energy consumption and evaluated investment cost from the simulation of both processes were compared to determine the potential of [emim][Ac]. The results show both lower energy requirement and investment cost of the [emim][Ac]-based process compared to MEA by 13.5 % and 3.75 %, respectively.-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1579-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectCarbon dioxide-
dc.subjectSolvents-
dc.subjectคาร์บอนไดออกไซด์-
dc.subjectสารตัวทำละลาย-
dc.titleProcess simulation of carbon dioxide capture using ionic liquid 1-ethyl-3-methylimidazolium acetateen_US
dc.title.alternativeการจำลองกระบวนการของการจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยใช้ของเหลวไอออนิกen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePetroleum Technologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorKitipat.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorAmr.Henni@Uregina.ca-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1579-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Koon_kh_front_p.pdfCover and abstract967.4 kBAdobe PDFView/Open
Koon_kh_ch1_p.pdfChapter 1639.52 kBAdobe PDFView/Open
Koon_kh_ch2_p.pdfChapter 22.05 MBAdobe PDFView/Open
Koon_kh_ch3_p.pdfChapter 3768.83 kBAdobe PDFView/Open
Koon_kh_ch4_p.pdfChapter 42.84 MBAdobe PDFView/Open
Koon_kh_ch5_p.pdfChapter 5627.92 kBAdobe PDFView/Open
Koon_kh_back_p.pdfReference appendix3.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.