Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77568
Title: FORMULATION OF COMBINED ANTIBACTERIAL INJECTABLE SUSPENSION FOR THE TREATMENT OF STREPTOCOCCUS SUIS INFECTED PIGS
Other Titles: การตั้งตำรับยาต้านแบคทีเรียผสมสำหรับฉีดเพื่อรักษาสุกรที่ติดเชื้อ สเตรปโตคอคคัส ซูอิส
Authors: Atchara Ritkumlung
Advisors: Pornpen Werawatganone
Walaisiri Muansiri
Dachrit Nilubol
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences
Advisor's Email: Pornpen.W@Chula.ac.th,wpornpen11@yahoo.com
No information provided
Dachrit.N@Chula.ac.th
Subjects: Streptococcus
Antibacterial agents
Swine
สเตรปโตค็อกคัส
สารต้านแบคทีเรีย
สุกร
Issue Date: 2013
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Streptococcus suis (S. suis) is an important pathogen in the swine farm. Sometime the use of a single antimicrobial drug has been unsuccessful in the treatment. The use of antimicrobial combinations has been interesting for the treatment of S. suis infected pigs. Therefore, the objective of this study was to develop combined antimicrobial injectable suspension for the treatment of S.suis infected pigs. The susceptibility testing of 16 local S.suis strains collected from Thai swine farms against three antimicrobial groups (β-lactams, aminoglycosides and fluoroquinolones) was performed using agar dilution technique. The Minimum Inhibitory Concentrations (MICs) were determined and the antimicrobials were selected for further studies. The synergistic effects of antimicrobial combinations were studied using checkerboard method and Fractional Inhibitory Concentration (FIC) index calculation. The most potent antimicrobial combination was selected and formulated using various oils and dispersing agents to prepare parenteral suspensions. Physical and chemical stabilities and in vitro release of the suspensions were evaluated. The results demonstrated that S.suis isolates were more sensitive to β-lactam (amoxicillin, cefazolin, ceftriaxone and cefotaxime) and fluoroquinolone ( ciprofloxacin and enrofloxacin) groups than aminoglycoside group (neomicin and gentamicin). The synergistic effects of enrofloxacin and amoxicillin provided the highest antimicrobial activities against S.suis among other antimicrobials. Then, enrofloxacin combined with amoxicillin was selected to formulate as antimicrobial suspensions in oil. Amoxicillin trihydrate and enrofloxacin base suspension containing cottonseed oil and tween 20 as a medium and a dispersing agent was good physical appearance, easily resuspended and physically stable. After 3 months at 30±2 °C and 75±5%RH, percent remainings of amoxicillin trihydrate and enrofloxacin base in the suspension were 101.57±0.71 and 98.81±2.22, respectively. The release profile of enrofloxacin base showed sustained release longer than 24 hours while that of amoxicillin trihydrate reached a plateau 10 hours. Therefore, amoxicillin trihydrate and enrofloxacin base in oil is a potential candidate in developing formulation of combined antibacterials for the treatment of S.suis infected pigs.
Other Abstract: สเตรปโตคอคคัส ชูอิส เป็นเชื้อแบคทีเรียก่อโรคสำคัญในฟาร์มสุกรบางครั้งการใช้ยาต้านจุลชีพเพียงชนิดเดียวทำให้ไม่ประสบความสำเร็จในการรักษาจึงน่าสนใจที่จะใช้ยาต้านจุลชีพร่วมกันสองชนิดเพื่อรักษาสุกรที่ติดเชื้อสเตรปโตคอคคัส ชูอิส ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือพัฒนาสูตรตำรับยาฉีดแขวนตะกอนต้านจุลชีพผสมเพื่อรักษาสุกรที่ติดเชื้อสเตรปโตคอคคัส ชูอิส การทดสอบความไวของเชื้อสเตรปโตคอคคัส ชูอิส สายพันธุ์ท้องถิ่นจำนวน 16 ตัวอย่างเชื้อที่เก็บได้จากฟาร์มสุกรในประเทศไทยต่อยาต้านจุลชีพ 3 กลุ่ม (เบต้า-แลคแทม, อะมิโนไกลโคไซด์และฟลูออโรควิโนโลน) โดยเทคนิคอาการ์ไดลูชัน หาค่าความเข้มข้นต่ำสุดของยาต้านจุลชีพที่สามารถยับยยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียและคัดเลือกยาต้านจุลชีพสำหรับนำไปศึกษาในขั้นตอนต่อไปการศึกษาการเสริมฤทธิ์ของยาต้านจุลชีพ โดยใช้วิธีเชคเกอร์บอร์ดและการคำนวณหาค่าดัชนีสัดส่วนความเข้มข้นในการยับยั้งเชื้อเลือกยาต้านจุลชีพที่ใช้ร่วมกันแล้วมีศักยภาพมากที่สุดและตั้งตำรับที่ใช้น้ำมันหลายชนิดและสารช่วยทำให้เปียกเพื่อเตรียมเป็นยาฉีดแขวนตะกอนประเมินความคงตัวทางกายภาพและทางเคมีและการปลดปล่อยของยาออกจากตำรับยาฉีดแขวนตะกอนผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าเชื้อสเตรปโตคอคคัส ชูอิส มีความไวต่อยากลุ่มเบต้า-แลคแทม (อะม็อกซีซิลิน, เซฟไตรอะโซนและเซโฟแทคซีม) และยากลุ่มฟลูออโรควิโนโลน (ไซโปรฟลอกซาซินและเอนโรฟลอกซาซิน) มากกว่ายากลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ (นีโอมัยซินและเจนตามัยซิน) ผลการเสริมกันของเอนโรฟลอกซาซินและอะม็อกซีซิลินให้ฤทธิ์ต้านเชื้อสเตรปโตคอคคัส ซูอิสสูงที่สุดเมื่อเทียบกับยาต้านจุลชีพตัวอื่นๆ ดังนั้นเอนโรฟลอกซาซินร่วมกันกับอะม็อกซีซิลินถูกเลือกเพื่อนำมาเตรียมเป็นยาต้านจุลชีพแบบแขวนตะกอนในน้ำมัน ยาแขวนตะกอนอะม็อกซีซิลิน ไตรไฮเดรทและเอนโรฟลอกซาซิน เบส ประกอบด้วยน้ำมันเมล็ดฝ้ายใช้เป็นตัวกลางและทวีน 20 เป็นสารช่วยทำให้เปียกมีลักษณะทางกายภาพที่ดีตะกอนกระจายตัวใหม่ได้ง่ายและมีความคงตัวทางกายภาพหลังจากเก็บที่อุณหภูมิ 30 ± 2 องศาเซลเซียสและ 75 ± 5% ความชื้นสัมพัทธ์เป็นเวลา 3 เดือนเปอร์เซ็นต์คงเหลือของยาอะม็อกซีซิลิน ไตรไฮเดรทและเอนโรฟลอกซาซิน เบส 101.57 ± 0.71 และ 98.81 ± 2.22 ตามลำดับ การปลดปล่อยของเอนโรฟลอกซาซิน เบส แสดงการปลดปล่อยอย่างๆช้าๆ ใช้เวลานานมากกว่า 24 ชั่วโมงในขณะที่การปลดปล่อยอะม็อกซีซิลิน ไตรไฮเดรทถึงระดับหนึ่งแล้วมีการเปลี่ยนแปลงน้อยภายในเวลา 10 ชั่วโมง ดังนั้นยาอะม็อกซีซิลิน ไตรไฮเดรทและเอนโรฟลอกซาซิน เบสในน้ำมันมีศักยภาพที่ดีในการนำไปพัฒนาสูตรตำรับยาต้านแบคทีเรียแบบผสมเพื่อใช้รักษาสุกรที่ติดเชื้อสเตรปโตคอคคัส ชูอิส
Description: Thesis (M.Sc. in Pharm.)--Chulalongkorn University, 2013
Degree Name: Master of Science in Pharmacy
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Pharmaceutics
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77568
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.2079
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.2079
Type: Thesis
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Atchara_ri_front_p.pdfCover and abstract993.28 kBAdobe PDFView/Open
Atchara_ri_ch1_p.pdfChapter 1650.98 kBAdobe PDFView/Open
Atchara_ri_ch2_p.pdfChapter 21.3 MBAdobe PDFView/Open
Atchara_ri_ch3_p.pdfChapter 31.1 MBAdobe PDFView/Open
Atchara_ri_ch4_p.pdfChapter 41.7 MBAdobe PDFView/Open
Atchara_ri_ch5_p.pdfChapter 5620.56 kBAdobe PDFView/Open
Atchara_ri_back_p.pdfReference and appendix1.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.