Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77757
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSato, Yoshio-
dc.contributor.advisorSomchai Nakapadungrat-
dc.contributor.authorSakboworn Tumpeesuwan-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2021-11-11T09:42:56Z-
dc.date.available2021-11-11T09:42:56Z-
dc.date.issued2005-
dc.identifier.issn9741741642-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77757-
dc.description.abstractซากดึกดำบรรพ์กลุ่มชีวินหอยน้ำจืดในเขตอุทยานแห่งชาติภูเวียงจังหวัดขอนแก่น จำนวน 5 แหล่ง ได้ถูกขุดค้นและนำมาศึกษา ซากดึกดำบรรพ์หอยน้ำจืดทั้ง 5 แหล่งปรากฏในบริเวณเทือกเขาชั้นในของเทือกเขาภูเวียงเรียงตัวจากทิศใต้ไปทิศเหนือ ดังต่อไปนี้ แหล่ง PW-M-5 อยู่ทางทิศใต้ของภูน้อยพบซากหอยกาบคู่ในชั้นหินทรายปนกรวดมนเม็ดโคลน แหล่งอื่น ๆ พบบริเวณภูประตีตูหมา ได้แก่ แหล่ง PW-M-1 ซึ่งมีชั้นซากดึกดำบรรพ์หอย 3 ชั้น เรียงจากล่างขึ้นบนดังนี้ ชั้น PW-M-1/1 เป็นชั้นบาง ๆ ของเศษเปลือกหอยอยู่ในชั้นหินทรายเฉียงระดับ ชั้น PW-M-1/2 เป็นชั้นที่พบซากดึกดำบรรพ์หอยกาบคู่หนาแน่นอยู่ในชั้นหินทรายปนกรวด และชั้น PW-M-1/3 พบหอยกาบคู่ในชั้นหินทรายปนกรวดมนเม็ดโคลน แหล่ง PW-M-2 และ PW-M-3 มีลักษณะเหมือนกับแหล่ง PW-M-1/2 สำหรับแหล่ง PW-M-4 พบซากดึกดำบรรพ์หอยกาบคู่ในชั้นหินโคลน และจากลักษณะซากดึกดำบรรพ์หอยกาบคู่ที่ปรากฏในแหล่ง PW-M-4 ลักษณะเม็ดตะกอนที่ละเอียด ร่องรอยของสิ่งมีชีวิต และการติดกันของข้อต่อระหว่างฝาหอยกาบคู่ สามารถอธิบายได้ว่าการเกิดของตะกอนเป็นแบบที่ราบน้ำท่วมถึง ขณะที่แหล่งอื่น ๆ เกิดในลักษณะของแหล่งทับถมร่องน้ำโดยแปลความหมายจากลักษณะเม็ดตะหอนขนาดใหญ่และฝาหอยกาบคู่ที่หลุดออกจากกัน นอกจากนี้ยังได้ทำการศึกษากลุ่มชีวินหอยกาบคู่จากแหล่ง PW-M-1/3 โดยเก็บตัวอย่างหินเป็นก้อนขนาด 25x25x20 เซนติเมตร ซึ่งผลการวิเคราะห์พบซากดึกดำบรรพ์หอยกาบคู่ 9 ชนิด ชนิดที่พบมากที่สุดคือ Unionids gen. et sp. Indet. เป็นซากดึกดำบรรพ์ขนาดเล็กจำนวนมากแสดงให้เห็นว่ามีการตายในวัยอ่อนมาก จากหลักฐานดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่าซากดึกดำบรรพ์ของหอยเหล่านี้ถูกพัดพามาไม่ไกลจากแหล่งที่อยู่เดิมและเกิดการตกตะกอนทับถมอย่างรวดเร็ว ผลการศึกษาทางอนุกรมวิธานของซากดึกดำบรรพ์หอยกาบคู่ที่พบทั้งสิ้นมีจำนวน 15 ชนิด ประกอบด้วยชนิดที่ตรวจสอบหาชื่อวิทยาศาสตร์ได้ 2 ชนิด คือ Nippononaia mekongensis และ Unio sp. Cf. U. samplanoides ชนิดที่ไม่สามารถตรวจสอบหาชื่อสกุลได้ 6 ชนิด และ ที่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้เนื่องจากขาดลักษณะสำคัญที่ใช้ในการจัดจำแนก 7 ชนิด-
dc.description.abstractalternativeFreshwater molluscan assemblages were collected from five localities in Phu Wiang National Park, Changwat khon Kaen . these localities are situated from south to north of the inner mountain range as follow: Lacallitiy PW-M-5 is exposed at south of Phu Noi and the shell bed occours in mud-nodule conglomeratic sandstone, other localities are exposed at Phu Pratu Tee Ma. Locality PW-M-1 consists of three shell beds from lower to upper as follow: The lower PW-M-1/1 is this layer of shell fragments in cross-bedded sandstone, the middle PW-M-1/2 is composed of abundant of bivalves in conglomeratic sandstone bed, and the upper PW-M-2 and PW-M-3 are located in conglomerstic sandstone whereas the shell bed at PW-M-4 is located in mudstone. Based on the occurrence of fine-grained sediment, trace fossil, and articulation of shells, PW-M-4 is interpreted as floodplain deposit. The other beds are interpreted as channel deposit based on coarse-grained sediment and disarticulation of shells. In addition, palaeoecological analysis of bivalve assemblage of PW-M-1/3 was done by using a block sample 25x25x20 cm in size. This assemblage consists of nine species, which Unionids gen. et sp. indet. is most abundant. It shows high juvenile mortality which can be interpreted as having been transported not far from their habitat and rapidly deposited in this final burial place. In the present taxonomic study, fifteen morphotypes were found comprising two identified species i.e. Nippononaia mekongensis and Unio sp.cf. U. samplanoides, six indeterminate genera, and seven uncertain affinities.-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn University.en_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectMollusksen_US
dc.subjectFossils -- Thailand -- Khon Kaenen_US
dc.subjectPhu Wiang (Khon Kaen)en_US
dc.subjectหอยen_US
dc.subjectซากดึกดำบรรพ์ -- ไทย -- ขอนแก่นen_US
dc.subjectอุทยานแห่งชาติภูเวียง (ขอนแก่น)en_US
dc.titlePalaeontological and stratigraphy studies of freshwater molluscan assemblages from Sao Khua Formation, Khorat Group at Phu Wiang Area, Changwat Khon Kaenen_US
dc.title.alternativeบรรพชีวินวิทยาและลำดับชั้นหินของกลุ่มชีวินหอยน้ำจืดจากหมวดหินเสาขัวกลุ่มหินโคราชบริเวณภูเวียงจังหวัดขอนแก่นen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineEarth Sciencesen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sakboworn_tu_front_p.pdfCover and abstract1.07 MBAdobe PDFView/Open
Sakboworn_tu_ch1_p.pdfChapter 11.26 MBAdobe PDFView/Open
Sakboworn_tu_ch2_p.pdfChapter 21.18 MBAdobe PDFView/Open
Sakboworn_tu_ch3_p.pdfChapter 33.03 MBAdobe PDFView/Open
Sakboworn_tu_ch4_p.pdfChapter 41.94 MBAdobe PDFView/Open
Sakboworn_tu_ch5_p.pdfChapter 51.34 MBAdobe PDFView/Open
Sakboworn_tu_ch6_p.pdfChapter 6822.73 kBAdobe PDFView/Open
Sakboworn_tu_ch7_p.pdfChapter 7637.29 kBAdobe PDFView/Open
Sakboworn_tu_back_p.pdfReference and appendix763.39 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.