Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77835
Title: การบำบัดทางชีวภาพของดินที่ปนเปื้อนด้วยไพรีน/ฟีแนนทรีนและน้ำมันดีเซลโดยกลุ่มแบคทีเรีย RM-V3 และ PDE4 ที่ผ่านไลโอฟิไลเซชัน
Other Titles: Bioremediation of pyrene/phenanthrene-and diesel oil-contaminated soil by lyophilized bacterial consortia RRM-V3 and PDE4
Authors: สุธาสินี จิตติมณี
Advisors: กอบชัย ภัทรกุลวณิชย์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: การปนเปื้อนของน้ำมันในดิน
ความหลากหลายทางชีวภาพของดิน
Oil pollution of soils
Soil biodiversity
Issue Date: 2552
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: กลุ่มแบคทีเรีย RRM-V3 และ PDE4 ได้ถูกไลโอฟิไลว์โดยใช้ 12% ซูโครสเป็นสารป้องกันความเย็น หลังจากไลโอฟิไลเซชันกลุ่มแบคทีเรีย RRM-V3 และ PDE4 มีการรอดชีวิต 99.7% และ 98.8% ตาม ลำดับ ฟีแนนทรีนและไพรีนที่ความเข้มข้นของแต่ละชนิด 0.05 กรัมต่อลิตรถูกย่อยสลายโดยสมบูรณ์ในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลวโดย RRM-V3 ไลโอฟิไลซ์ ภายใน 3 และ 14 วัน ตามลำดับ ในขณะที่กลุ่มแบคทีเรีย RRM-V3 ที่เตรียมสดออกซิไดซ์ PAHs ทั้งสองชนิดที่ความเข้มข้นเดียวกันจนหมดภายใน 1 วัน เมื่อใช้กลุ่ม แบคทีเรีย PDE4 ไลโอฟิไลซ์เพื่อย่อยสลาย 1% น้ำมันดีเซล พบว่าเหลือน้ำมันดีเซล 66.69 ± 32.6% ในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลวหลังจาก 14 วัน ในทางตรงข้ามกลุ่มแบคทีเรีย PDE4 ที่เตรียมสดสามารถย่อยสลาย 1% น้ำมันดีเซลจนเหลือ 9.59 ± 9.6% ภายใต้ภาวะเดียวกัน กลุ่มแบคทีเรีย RRM-V3 และ PDE4 ไลโอฟิไลซ์ที่ผสมกันสามารถย่อยสลายฟีแนนทรีน/ไพรีนและน้ำมันดีเซลในดินได้จนเหลือ 39.85 ± 5.4%, 42.77 ± 5.8% 41.51 ± 4.8% ตามลำดับ หลังจาก 14 วัน โดยสรุปไลโอฟิไลเซชันสามารถเก็บรักษากลุ่ม แบคทีเรีย RRM-V3 และ PDE4 ไลโอฟิไลซ์ มีกิจกรรมการย่อยสลาย PAHs ทั้ง 2 ชนิด และน้ำมันดีเซลได้น้อยกว่า เนื่องจากเซลล์อาจใช้ซูโครสเป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อการเจริญในระยะแรกของการย่อยสลายทางชีวภาพ
Other Abstract: Bacterial consortia RRM-V3 and PDE4 were lyophilized using 12% sucrose as a cryoprotective agent. After lyophilization, viability of RRM-V3 and PDE4 were 99.7% and 98.8%, respectively. Phenantherne and pyrene at the initial concentration of 0.05 g/I each in liquid medium were completely degraded by lyophilized RRM-V3 within 3 and 14 days, respectively, whereas fresh RRM-V3 cells completely oxidized both PAHs at the same concentration within 1 day. Utilization of lyophilized PDE4 to degrade 1% diesel oil revealed that 66.69 ± 32.6% of diesel oil remained in liquid to degrade 1% diesel oil revealed that 66.69 ± 32.6% of diesel oil remained in liquid medium after 14 days. On the contrary, fresh PDE4 could degrade diesel oil to 9.59 ± 9.6% remaining under the same condition Mixed lyophilized RRM-V3 and PDW4 could degrade phenenthrene/pyrene and diesel oil in soil to 39.85 ± 5.4%, 42.77 ± 5.8% and 41.51 ± 4.8% remaining, after 14 days respectively. In conclusion, lyophilization could maintain the survival of both bacterial consortia RRM-V3 and PDE4. However, lyophilized RRM-V3 and PDE4 were less active in degradation of both PAHs and diesel oil because the cells may use sucrose as carbon source for growth in the first stage of biodegradation
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: จุลชีววิทยา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77835
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2195
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.2195
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suthasinee_ji_front_p.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ993.21 kBAdobe PDFView/Open
Suthasinee_ji_ch1_p.pdfบทที่ 1758.6 kBAdobe PDFView/Open
Suthasinee_ji_ch2_p.pdfบทที่ 21.27 MBAdobe PDFView/Open
Suthasinee_ji_ch3_p.pdfบทที่ 31.08 MBAdobe PDFView/Open
Suthasinee_ji_ch4_p.pdfบทที่ 41.36 MBAdobe PDFView/Open
Suthasinee_ji_ch5_p.pdfบทที่ 51.11 MBAdobe PDFView/Open
Suthasinee_ji_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.