Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78184
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorทักษิณา ชวนอาษา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-07T07:22:33Z-
dc.date.available2022-03-07T07:22:33Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78184-
dc.description.abstractในการศึกษาวิจัยนี้ได้ทำการแยกสารจากส่วนสกัด F2 และ mother liquor หรือ สารละลายที่เหลือจากการตกผลึก uvaol ที่ได้จากการแยกสารสกัดหยาบของใบลำบิดดง (Diospyros filipendula) ในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพสธ.) บริเวณหมู่เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี การที่ศึกษาผ่านมาพบว่าสารเคมีใน F2 และ mother liquor ของผลึก uvaol มีรูปแบบการเคลื่อนที่บนแผ่น TLC ใกล้เคียงกันมาก และ F2 ยังมีฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์แพนครีเอติกไลเปสถึง 93.28% ที่ความเข้มข้นสุดท้าย 1 mg/ml จึงเป็นที่น่าสนใจที่แยกสารบริสุทธิ์จากทั้งสองส่วนนี้ ในการแยกสารบริสุทธิ์ทำโดยใช้หลักการของโครมาโทกราฟฟี ได้ fraction M5 แล้วนำมาพิสูจน์เอกลักษณ์ โดยวิธีทางสเปคโตรสโคปี ด้วยเทคนิค nuclear magnetic resonance คือ 1H NMR และ 13C NMR และเปรียบเทียบข้อมูลกับสารมาตรฐาน พบว่า M5 เป็นของผสมที่ประกอบด้วยสาร 3 ชนิดที่ไม่สามารถแยกจากกันโดยเครื่องมือเทคนิคโครมาโทกราฟฟีพื้นฐานที่มีในห้องปฏิบัติการ ซึ่งประกอบด้วย α-amyrin, β-amyrin และ isomultiflorenol สารทั้งสามชนิดนี้มีน้ำหนักโมเลกุลเท่ากัน คือ 426.72 เมื่อทดสอบฤทธิ์ต้านเอนไซม์แพนครีเอติกไลเปสของของผสมที่มีสารทั้งสามชนิดอยู่ร่วมกัน พบว่าสามารถยับยั้งการทำงานของเอนไซม์นี้ได้ 52.11 % ที่ความเข้มข้น 1 mg/mlen_US
dc.description.abstractalternativeThe study is aimed to isolate chemicals from crude extracts of F2 and a mother liquor retrieved during uvaol crystallization. Both mixtures were collected from the isolation of pure compounds from an ethyl acetate extracts of Lum Bid Dong (Diospyros filipendula) leaves harvested from the Plant Genetic Conservation Project area under The Royal Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, Samae-San Island, Chonburi. Previous study showed that chemicals in both mixtures had developed on the TLC with comparable patterns. Besides, F2 exhibited 93.28 % pancreatic lipase inhibitory activity with 1 mg/mL final concentration. Thus, it was interesting to isolate compounds in both mixtures which are responsible for this activity. M5 was obtained via fractionating a combined mixture of F2 and a dried mother liquor. It was found that M5 consisted of 3 triterpene compounds with the same molecular weight (MW 426.72), including α-amyrin, β-amyrin and isomultiflorenol, identified by spectroscopic techniques including 1H NMR and 13C NMR. The activity of M5 was examined and found to exhibit 52.11% lipase inhibition with 1 mg/mL final concentration.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2557en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectลิปิด -- การเผาผลาญen_US
dc.subjectสมุนไพรen_US
dc.titleการแยกสารสำคัญจากพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ต้านเมตาบอลึซึมของไขมันในพื้นที่ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องจากพระราชดำริฯ โดยการวัดฤทธิ์การยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ แพนครีเอติกไลเปส (ปีที่ 2) : รายงานวิจัยen_US
dc.title.alternativeIsolation of anti-lipid metabolism substances of medicinal plant genetic conservation project area under the Royal Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn by measuring the inhibitory activity of pancreatic lipase enzyme (2nd year)en_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Pharm - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Taksina C_Res_2557.pdfรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext)672.23 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.