Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78704
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์เดช สรุโฆษิต-
dc.contributor.authorปันธวีย์ เรืองวงษ์ศา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-02T08:08:23Z-
dc.date.available2022-06-02T08:08:23Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78704-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564en_US
dc.description.abstractกรุงเทพมหานคร เป็นศูนย์กลางความเจริญและเป็นศูนย์รวมของประชากรจํานวนมาก จึงส่งผล ให้เกิดปัญหาการจราจรบนท้องถนนมาอย่างยาวนาน ปัญหานี้เกิดขึ้นจากหลายปัจจัยแต่ปัจจัยหลักคงหนี ไม่พ้นเรื่องอุบัติเหตุบนท้องถนน ซี่งอุบัติเหตุส่วนมากเกิดขึ้นจากพฤติกรรมของผู้ขับขี่ที่ไม่ยอมปฏิบัติตาม กฎหมายและบ่อยครั้งที่พบว่าผู้ขับขี่รถโดยสารประจําทางก็มีพฤติกรรมการขับขี่ที่เสี่ยงต่อการเกิด อุบัติเหตุด้วยเช่นกัน จากสถิติการรับเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการขับขี่ของผู้ขับขี่รถโดยสาร ประจําทางในกรุงเทพมหานครที่มีการร้องเรียนเป็นจํานวนมาก เช่น ขับแทรกและปาดหน้ารถร่วมทาง ขับรถเร็ว ขับรถกระชาก กลับรถในที่ห้ามกลับ และใช้โทรศัพท์ขณะขับรถ เป็นต้น ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ถือ ว่าเป็นพฤติกรรมที่ผู้ขับขี่รถโดยสารประจําทางไม่ควรกระทําเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากผู้ขับขี่รถโดยสาร ประจําทางควรมีจิตสํานึกที่ดีในการให้บริการและควรตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้โดยสารเป็นสําคัญ จากการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นปัญหาดังกล่าวพบว่ากฎหมายที่ใช้ในการกํากับดูแล พฤติกรรมการขับขี่ของผู้ขับขี่รถโดยสารประจําทางในกรุงเทพมหานครมีการบัญญัติบทลงโทษผู้กระทําผิด ไว้ค่อนข้างเบาและกฎหมายมีช่องว่างให้ผู้กระทําผิดมีโอกาสในการกระทําผิดซ้ำ จึงส่งผลให้ผู้ขับขี่รถ โดยสารประจําทางในกรุงเทพมหานครไม่เกรงกลัวต่อมาตรการที่ใช้ในการลงโทษตามที่กฎหมายได้บัญญัติ ไว้ เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายที่ใช้ในการกํากับดูแลพฤติกรรมการขับขี่ของผู้ขับขี่รถโดยสารประจําทาง ในประเทศสิงคโปร์ที่มีการบัญญัติบทลงโทษผู้กระทําผิดไว้ค่อนข้างสูงอีกทั้งยังมีการเพิ่มโทษในกรณีที่มี การกระทําผิดซ้ํ้ำในความผิดเดิม จึงส่งผลให้พฤติกรรมการขับขี่ของผู้ขับขี่รถโดยสารประจําทางของ ประเทศสิงคโปร์มีมาตราฐานที่ดี ดังนั้นจึงควรปรับปรุงแนวทางการกํากับดูแลพฤติกรรมการขับขี่ของผู้ขับ ขี่รถโดยสารประจําทางในกรุงเทพมหานคร โดยผู้เขียนขอเสนอให้มีการพิจารณาแก้ไขระเบียบกรมการขนส่งทางบก ว่าด้วยการพักใช้หรือ เพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ขับรถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก พ.ศ. 2564 ในข้อ 12 และข้อ 16 คือขอให้พิจารณาเพิ่มโทษในกรณีที่มีการกระทําผิดซ้ำในความผิดเดิมและกำหนดระยะเวลาในการกระทํา ผิดซ้ำห้แคบลง ทั้งนี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกํากับดูแลให้มีมาตรฐานที่ดียิ่งขึ้นen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.170-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกฎจราจรen_US
dc.subjectอุบัติเหตุรถประจำทางen_US
dc.titleแนวทางการกำกับดูแลพฤติกรรมการขับขี่ของผู้ขับขี่รถโดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานครen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisornarongdech.s@chula.ac.th-
dc.subject.keywordพนักงานขับรถโดยสารประจำทางen_US
dc.subject.keywordปัญหาการจราจรen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.170-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380024134.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.