Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78707
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัชพล จิตติรัตน์-
dc.contributor.authorพีรพล ธนทวี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-02T08:53:11Z-
dc.date.available2022-06-02T08:53:11Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78707-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564en_US
dc.description.abstractเอกัตศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อที่จะสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมือง กรุงเทพฯ ให้น่าอยู่อย่างยั่งยืน ผ่านรูปแบบการแจ้งเบาะแส เมื่อพบผู้กระทําความผิด บนทางเท้าของ เขตกรุงเทพฯ ผ่านวิธีการศึกษาและวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยทางเอกสาร ผ่านการค้นคว้า ศึกษา สืบค้น รวบรวมข้อมูล จาก หนังสือ บทความที่เกี่ยวข้อง วิทยานิพนธ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งในและ ต่างประเทศ และข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ อีกทั้งยังศึกษาถึงข้อจํากัดภายใต้กฎหมายและแนวทางปฏิบัติ ของประเทศไทย ตลอดจนข้อจํากัดต่าง ๆ ที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการแจ้งเบาะแสให้ดียิ่งขึ้น การที่ผู้แจ้งเบาะแส ได้รับเงินรางวัล จากการแจ้งเบาะแส นั้น จะเป็นส่วนหนึ่งในมาตรการกระตุ้นให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อพัฒนาเมืองให้เติบโตไปอย่างยั่งยืน จากการศึกษาพบว่า ปัจจุบันประเทศไทยยังมีการปฏิบัติที่ไม่มีประสิทธิภาพที่ดีพอและยังไม่มี กฎหมายคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสโดยตรง ซึ่งผู้วิจัย เห็นว่าการดําเนินการของผู้แจ้งเบาะแส ในปัจจุบัน ยังมี ช่องว่างที่จะสามารถทําให้เกิดพัฒนาการที่ดีขึ้นได้ผ่านมิติของกฎหมาย ดังนี้บทสรุปของการศึกษานี้ พิจารณาได้ว่าเพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการแจ้งเบาะแสมากขึ้น การให้เงินรางวัล กับผู้แจ้งเบาะแส จึงเป็น ช่องทางหนึ่ง ที่สามารถให้กลไกทางการมีส่วนร่วมและการร่วมกันตรวจสอบของทุกภาคส่วน ไปขับเคลื่อน ให้สังคมดีขึ้นได้en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.173-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพัฒนาเมืองแบบยั่งยืนen_US
dc.subjectกฎหมายกับการพัฒนาเศรษฐกิจen_US
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพการแจ้งเบาะแสตามพระราชบัญญัติรักษาความสะอาด และ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 : กรณีศึกษาหน่วยงานท้องถิ่น กรุงเทพฯen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisornatchapol.j@chula.ac.th-
dc.subject.keywordพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดen_US
dc.subject.keywordการแจ้งเบาะแสen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.173-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380027034.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.