Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78773
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศุภศิษฏ์ ทวีแจ่มทรัพย์ | - |
dc.contributor.author | อฑตยา นิลทองคำ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-13T06:26:45Z | - |
dc.date.available | 2022-06-13T06:26:45Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78773 | - |
dc.description | เอกัตศึกษา (ศศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | ตราบใดที่สภาวการณ์ในเรื่องค่าฝุ่น 2.5 PM ยังคงมีความทวีพูนอยู่และมากขึ้นที่ยังไม่ สามารถจัดการหรือควบคุมให้ดีขึ้นได้ หรือแม้กระทั่งสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ในปัจจุบันที่ยังคงระบาดอยู่ทั่วโลก ผู้ประกอบการหรือนายจ้างย่อมต้องปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตทั้ง ในด้านสังคมและพฤติการณ์ในการทํางานที่เปลี่ยนแปลงไปให้เข้ากับสภาวการณ์ที่ยังดํารงอยู่ใน ปัจจุบัน ดังนั้นตัวผู้ประกอบหรือนายจ้าง และตัวพนักงงานหรือลูกจ้างต้องมีการเตรียมความพร้อม เรื่องการทํางานนอกสถานที่ หรือที่เรียกว่าการทํางานทางไกลผ่านมัลติมิเดีย (Telework) อยู่เสมอ และดูเหมือนจะเป็นรูปแบบการทํางานที่คนให้ความสนใจนิยมมากขึ้น อีกทั้งจากการที่ผู้วิจัยได้ศึกษาการทํางานทางไกลผ่านมัลติมิเดีย (Telework) พบว่า ถึงแม้ว่าการทํางานแบบนี้จะมีข้อดีในเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทําให้สามารถพูดคุย กันแบบเห็นหน้าได้โดยไม่ต้องไปทํา ณ สํานักงาน ที่ช่วยให้เวลาในการทํางานมีความยืดหยุ่นมาก ยิ่งขึ้น และยังเป็นการลดใช้จ่ายส่วนกลางที่ตัวผู้ประกอบการต้องรับภาระ แต่ถึงกระนั้นแล้วใช้ว่าการ ทํางานรูปแบบนี้จะมีข้อดีอย่างเดียว แต่หากยังพบถึงปัญหาไม่ว่าจะเป็นในเรื่องไม่มีการจัดสรรเวลาใน การทํางานที่ดี ไม่ว่าจะเป็นฝั่งลูกจ้างที่โดนใช้เวลานอกงานทําให้ไปรบกวนเวลาว่างที่ควรจะเป็นอิสระ และได้รับการพักผ่อน อีกทั้งฝั่งนายจ้างอาจได้รับผลกระทบที่ฝั่งลูกจ้างไม่จัดสรรเวลาให้ดี ทํางานไม่ ครบตามเวลาที่กําหนดจึงทําให้การทํางานไม่เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามที่พึงต้องการในเนื้อ งาน เป็นตัน ปัญหาเหล่านี้ยังขาดบทกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิแรงงานที่ควรจะได้รับ ดังนั้นเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่ผู้วิจัยได้ทําการศึกษา ได้แก่สหรัฐอเมริกา และสหพันธ สาธารณรัฐเยอรมนีพบว่าประเทศเหล่านี้มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างในทางกฎหมายโดยการมีบัญญัติ กฎหมายขึ้นโดยเฉพาะเพื่อกําหนดกฎเกณฑ์หรือสร้างกรอบนโยบายในการคุ้มครองลูกจ้างที่ทํางาน ทางไกลผ่านมัลติมีเดีย (Telework) เพื่อขจัดปัญหาที่ได้เกิดขึ้น และหากย้อนกลับมาดูถึงสภาวการณ์ ของกฎหมายที่เป็นความว่างเปล่าของกฎหมายไทยที่ยังไม่มีแนวทางในการปฏิบัติหรือการบัญญัติ กฎหมายเฉพาะ หากมองถึงข้อบกพร่องของความว่างเปล่าที่ไม่มีกฎหมายในการเข้ามาควบคุมการทํา สัญญาเกี่ยวกับการทํางานในลักษณะนี้จากการศึกษาผู้วิจัยจึงต้องการให้มีการกําหนดกฎเกณฑ์หรือ สร้างกรอบนโยบายอันเป็นแนวทางในการทํางานทางไกลผ่านมัลติมีเดีย (Telework) เพื่อเป็นการ สร้างนิติสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างที่สามารถได้รับการคุ้มครองภายใต้กฎหมายแรงงานตาม ความเหมาะสมทั้งส่วนสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและสิทธิหน้าที่ของลูกจ้างเพื่อให้เป็นการประกัน โครงสร้างและรูปแบบการทําสัญญาการทํางานทางไกลผ่านมัลติมีเดีย (Telework) ที่จะมี ประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดกับทุกฝ่ายที่เป็นไปตามแนวทางมาตรการสากล | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.164 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กฎหมายแรงงาน | en_US |
dc.subject | การทำงานทางไกล | en_US |
dc.title | แนวทางที่เหมาะสมในการกำหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการทำงานทางไกลผ่านมัลติมีเดีย (Telework) ในประเทศไทย | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กฎหมายเศรษฐกิจ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | taweejamsup@hotmail.com | - |
dc.subject.keyword | การทำงานทางไกลผ่านมัลติมีเดีย | en_US |
dc.subject.keyword | รูปแบบการทำงาน | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2021.164 | - |
Appears in Collections: | Law - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6380044734.pdf | 1.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.