Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78776
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภศิษฏ์ ทวีแจ่มทรัพย์-
dc.contributor.authorอุษณีย์ มหากิจศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-13T08:12:50Z-
dc.date.available2022-06-13T08:12:50Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78776-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564en_US
dc.description.abstractเอกัตศึกษาเล่มนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาถึงแนวทางในการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมง กรณี แรงงานหญิงมีครรภ์กล่าวคือ ปัจจุบันพบว่าประเทศไทยยังไม่มีมาตรการคุ้มครองแรงงานหญิงมีครรภ์ใน เรื่องค่าตอบแทนการทำงานและค่าจ้างขั้นต่ำนี้เหมาะสมเพียงพอ โดยเอกัตศึกษานี้จะศึกษาถึงมาตรการ ทางกฎหมายตามหลักการสากลขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ และกฎหมายของต่างประเทศที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาดังกล่าว ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีสาธารณรัฐฝรั่งเศส และ เครือรัฐออสเตรเลีย เพื่อนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบและนำเสนอแนวทางกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงของ แรงงานหญิงมีครรภ์ของไทยต่อไป จากการศึกษาพบว่า ประเทศไทยยังขาดมาตรการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมง กรณีแรงงานหญิงมี ครรภ์ในขณะที่บริบทการจ้างงานเปลี่ยนแปลงไปทำให้ไม่สอดคล้องกับวิธีการกำหนดค่าจ้างแบบเดิม กล่าวคือ แรงงานหญิงมีครรภ์ต้องเผชิญกับปัญหาทางด้านสรีระร่างกายประกอบกับอันตรายจากโรค ระบาดติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ตลอดจนวิธีการจ้างงานเปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยีทำให้รูปแบบ การจ้างงานระยะสั้นเป็นที่นิยม ฉะนั้น หากประเทศไทยได้มีการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมง กรณีแรงงาน หญิงมีครรภ์ขึ้นมาให้เป็นรูปธรรม ย่อมส่งผลให้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้รับการแก้ไขเยียวยาอย่างเป็นระบบ ลูกจ้างหญิงมีครรภ์ก็จะได้รับสิทธิที่แรงงานพึงจะได้รับ ทั้งยังเป็นหลักประกันในชีวิตจากการทีได้รับค่าจ้าง ที่เป็นธรรม อนึ่ง จากการศึกษาและพิจารณาถึงมาตรการทางกฎหมายตามหลักสากลและของ ต่างประเทศพบว่าได้มีการกำหนดเรื่องค่าตอบแทนการทำงานของแรงงานหญิงมีครรภ์ไว้อีกด้วย ตามเหตุที่ได้กล่าวมา ผู้เขียนจึงขอเสนอแนะให้ประเทศไทยสมควรมีการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมง กรณีแรงงานหญิงมีครรภ์ขึ้นไว้เป็นการเฉพาะ โดยกำหนดจากความเหมาะสมของจำนวนชั่วโมงการ ทำงานของหญิงมีครรภ์พร้อมทั้งนำมาตรการทางกฎหมายตามหลักการสากลและของต่างประเทศมาปรับ ใช้ให้เข้ากับบริบทของสังคมไทยอย่างเหมาะสมen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.167-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแรงงานสตรีen_US
dc.subjectค่าจ้างกับแรงงานen_US
dc.titleการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมง กรณีแรงงานหญิงมีครรภ์en_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisortaweejamsup@hotmail.com-
dc.subject.keywordการกำหนดค่าจ้างรายชั่วโมงen_US
dc.subject.keywordแรงงานหญิงen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.167-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380047634.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.