Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79015
Title: | Efficiency of acoustic absorption board from pomelo peels |
Other Titles: | ประสิทธิภาพของวัสดุดูดกลืนเสียงจากเปลือกส้มโอ |
Authors: | Phapasorn Panudomluck |
Advisors: | Chokchai Yachusri |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Science |
Subjects: | Absorption of sound Pummelo การดูดซับเสียง ส้มโอ |
Issue Date: | 2019 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | This study focused on the evaluated efficiency of the acoustic absorption board from pomelo peels and comparison sound absorption efficiency with different thicknesses and densities of the acoustic absorption board. The thickness of the sound absorber was varied in 3 sizes in 3 sizes i.e., 0.5 cm, 1 cm, and 2 cm, and 2 densities i.e., 784 kg/m³ and 1569 kg/m³ at constant thickness of 0.5 cm. The impedance tube testing according to ASTM C384-04 was used to measure the sound absorption coefficient. The results showed, at the difference thickness the 2 cm thickness with constant density of 784 kg/m³ pomelo peel fibers sound absorber provided the maximum absorption performance which achieved NRC at 0.67 ± 0.06 while the 0.5 cm and 1 cm provided 0.66±0.06 and 0.57±0.03 respectively. With the difference density, the 784 kg/m³ and 1569 kg/m³ of pomelo peel fibers sound absorber provided no statistically significant difference with a significance level of 0.05 which achieved NRC at 0.66±0.06 and 0.71±0.01 respectively. |
Other Abstract: | การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพของวัสดุดูดซับเสียงที่ทำมาจากเปลือกส้มโอ และเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซับเสียงของวัสดุดูดซับเสียงที่มีความหนาแน่นแตกต่างกัน โดยแบ่งความหนาของตัวอย่างออกเป็น 3 ขนาด คือ 0.5 เซนติเมตร, 1 เซนติเมตร, และ 2 เซนติเมตร ที่ความหนาแน่น 784 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และแบ่งความหนาแน่นออกเป็น 2 ความหนาแน่น คือ 784 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และ 1569 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ผลการศึกษาพบว่า ความหนาที่แตกต่างกันส่งผลให้วัสดุดูดซับเสียงที่ทำมาจากเปลือกส้มโอความหนา 2 เซนติเมตร มีประสิทธิภาพการดูดซับสูงสุด โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การลดเสียงเท่ากับ 0.67 ± 0.06 ในขณะที่ความหนา 0.5 เซนติเมตร และ 1 เซนติเมตร ให้ค่าสัมประสิทธิ์การลดเสียงเท่ากับ 0.66±0.06 และ 0.57±0.03 ตามลำดับ และความหนาแน่นที่แตกต่างกันวัสดุดูดซับเสียงที่ทำมาจากเปลือกส้มโอความหนาแน่น 784 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และ 1,569 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดยให้ค่าสัมประสิทธิ์การลดเสียงเท่ากับ 0.66±0.06 และ 0.71±0.01 ตามลำดับ |
Description: | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79015 |
Type: | Senior Project |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62-SP-ENVI-008 _ Phapasorn Panudomluck.pdf | 7.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.