Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79090
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงษ์ ทรงพงษ์-
dc.contributor.authorนันทภัทร์ จั่นสนิท-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-01T04:03:06Z-
dc.date.available2022-07-01T04:03:06Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79090-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractโครงงานนี้นำเสนอการศึกษาอุปกรณ์สร้างแผนที่ 3 มิติ โดยใช้ระบบควบคุมอัตโนมัติอัลตร้าโซนิคเซ็นเซอร์หลายตัว โดยใช้อัลตร้าโซนิคเซ็นเซอร์ (Ultrasonic sensor) ในการเก็บค่า เวลา ของการส่งสัญญาณคลื่นเสียงย่านอัลตร้าโซนิค (Ultrasonic) และนำมาคำนวณเป็นระยะทางตามสมการความเร็วของคลื่นเสียงในอากาศโดยใช้หลักการ Time-of-flight principle และนำข้อมูลเหล่านี้ ไปสร้างแผนที่กราฟ 3 มิติ (3D-mapping) ขึ้นในโปรแกรมด้วยการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เรื่องระบบพิกัดฉาก (Coordinate system) ซึ่งโครงงานนี้ใช้ อัลตร้าโซนิคเซ็นเซอร์ 2 ตัวในการเก็บข้อมูล และใช้ Arduino IDE ในการเขียนโปรแกรมการทำงานของอุปกรณ์ และใช้ MATLAB ในการเขียนโปรแกรมคำนวณภาพ 3 มิติ นอกจากนี้ยังมีการทดสอบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานอีกด้วย และท้ายที่สุดพบว่าอัลตร้าโซนิคเซ็นเซอร์มีข้อจำกัดเรื่อง มุมในการตรวจวัด ซึ่งมีค่าอยู่ในช่วง 70-110 องศา แต่สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยการสร้างอุปกรณ์นี้ให้เคลื่อนที่ได้en_US
dc.description.abstractalternativeThis project presents a study of a 3D mapping device using an automatic control system, ultrasonic sensors, multiple sensors. Using an ultrasonic sensor to collect the time value of the ultrasonic signal transmission and calculate the distance according to the sound wave speed equation in the air using the Principle Time-of-flight principle then carry this information to create a 3D graph in a program using mathematical calculations about the coordinate system. This project uses 2 ultrasonic sensors to collect data and use the Arduino IDE to write the device operation program and use MATLAB to write a 3D-mapping computation program. There also to test to improve performance. And finally found that the ultrasonic sensor has limitations on measuring angle which is in the range of 70-110 degrees, but can be solved by making this device move.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการทำแผนที่ -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectการสร้างภาพสามมิติen_US
dc.subjectCartography -- Computer programsen_US
dc.subjectThree-dimensional imagingen_US
dc.titleการทดสอบและศึกษาอุปกรณ์สร้างแผนที่ 3 มิติ โดยใช้ระบบควบคุมอัตโนมัติอัลตร้าโซนิคเซ็นเซอร์หลายตัวen_US
dc.title.alternativeTesting and studying of the 3D-mapping device by the automated multi- ultrasonic sensorsen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-PHYS-008-Nanthaphat Chansanit.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.