Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79149
Title: | Capsaicin content and anticancer activity of crude extract from Capsicum annuum L. |
Other Titles: | ปริมาณสารแคปไซซินและกิจกรรมการต้านมะเร็งของสารสกัดหยาบจาก Capsicum annuum L. |
Authors: | Pavaret Sivapornnukul |
Advisors: | Anchalee Chaidee Rachaneekorn Tammachote |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Science |
Subjects: | Capsaicinoids Antineoplastic agents -- Development แคปไซซิน ยารักษามะเร็ง -- การพัฒนา |
Issue Date: | 2019 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Capsaicinoid is a secondary metabolite produced in green and red chilies. Capsaicin (8-methyl-N-vanillyl-6-nonenamide), the main capsaicinoids, has been linked with anticancer activities through the mechanisms that are not completely understood. Furthermore, intraspecific variability of capsaicinoids is a hindrance for phamaceutical application. In this study, the dried chili fruits of Capsicum annuum L. cv. Jinda and cv. Cayenne were extracted with acetonitrile and the capsaicin contents were determined with high performance liquid chromatography (HPLC). As a result, the capsaicin content of Jinda was 75.145±1.418 mg/g dry weight and Cayenne was 1.267±0.094 mg/g dry weight. Furthermore, the crude extracts (100-500 μM capsaicin equivalent) were applied to cervical cancer cells (SiHa) for anticancer potentiality evaluation. Viability assay showed no anticancer activity when SiHa cells were treated with Jinda crude extracts. This may be that other secondary metabolites presenting in chili crude extract conceal anticancer properties of capsaicin. Thus, further studies, e.g. viability assay using pure capsaicin and antioxidant activity of chili crude extract, are required for better comprehension. |
Other Abstract: | แคปไซซินอยด์เป็นสารเมแทบอไลต์ทุติยภูมิที่สร้างขึ้นในพริกสีเขียวและสีแดง ประกอบด้วย กลุ่มหลัก คือ แคปไซซิน (8-methyl-N-vanillyl-6-nonenamide) ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต้านมะเร็ง แต่กลไกนั้นยังไม่เป็นที่เข้าใจอย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้ความแปรผันของปริมาณแคปไซซินอยด์เป็นข้อจำกัดหนึ่งในการนำไปใช้ประโยชน์เชิงเภสัชกรรม ในการศึกษานี้ผลแห้งของพริก Capsicum annuum L. cv. Jinda และ cv. Cayenne ถูกนำมาสกัดด้วยอิซิโตไตรล์และมีการวัดปริมาณแคปไซซินด้วยวิธี high performance liquid chromatography (HPLC) ซึ่งพบว่าพริก Jinda มีปริมาณแคปไซซิน 75.145±1.418 มิลลิกรัมต่อกรัมน้ำหนักแห้ง และพริก Cayenne มีปริมาณแคปไซซิน 1.267±0.094 มิลลิกรัมต่อกรัมน้ำหนักแห้ง นอกจากนี้สารสกัดหยาบ (มีปริมาณแคปไซซินเทียบเท่า 100-500 ไมโครโมลาร์) ได้ถูกนำมาใช้กับเซลล์มะเร็งปากมดลูก (SiHa) เพื่อประเมินศักยภาพในการต้านมะเร็ง จากการทดสอบความมีชีวิต (viability assay) ไม่พบความสามารถในการต้านเซลล์มะเร็ง SiHa ของสารสกัดหยาบของพริก Jinda ซึ่งอาจเกิดจากการมีสารเมแทบอไลต์ทุติยภูมิชนิดอื่น ๆ ในสารสกัดหยาบที่บดบังคุณสมบัติการต้านมะเร็งของแคปไซซิน ดังนั้น การศึกษาเพิ่มเติม เช่น การทดสอบความมีชีวิตโดยใช้แคปไซซินบริสุทธิ์และกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบจากพริกเป็นสิ่งจำเป็นต่อการเข้าใจกลไกเหล่านี้มากขึ้น |
Description: | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79149 |
Type: | Senior Project |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62-SP-BOT-015 - Pavaret Sivapornnukul.pdf | 1.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.