Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79320
Title: | Hydrophilic hollow fiber polyvinylidene fluoride (PVDF) membrane enhancement by graphene oxide nanoparticles via plasma-induced grafted polymerization |
Other Titles: | การเพิ่มคุณสมบัติความชอบน้ำของเมมเบรนเส้นใยกลวงโพลีไวนิลไอดีนฟลูออไรด์โดยเคลือบนาโนแกรฟีนออกไซด์ที่ผ่านการกระตุ้นด้วยพลาสมา |
Authors: | Pitsinee Laohapakdee |
Advisors: | Sermpong Sairiam |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Science |
Subjects: | Membranes (Technology) Povidone เมมเบรน (เทคโนโลยี) โพวิโดน |
Issue Date: | 2019 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | การศึกษาการเพิ่มความชอบน้ำ ของเมมเบรนเส้นใยกลวงโพลิไวนิลไอดีนฟลูออไรด์โดยผ่านการ กระตุ้นด้วยพลาสมา pulse inductively coupled plasma (PICP) และเคลือบด้วยอนุภาคนาโนแกรฟีน ผล จากการวิเคราะห์กล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราด (SEM) พบว่าเมมเบรนที่ผ่านการกระตุ้นด้วยพลาสมา และเคลือบด้วยอนุภาคนาโนแกรฟีนมีพื้นผิวที่เรียบกว่าเมมเบรนปกติ การกระตุ้นด้วยพลาสมาและการ เคลือบเมมเบรนด้วยกรดอะคริลิคทำให้เมมเบรนมีความชอบน้ำ เพิ่มขึ้น สังเกตได้จากค่ามุมสัมผัสของน้ำ (WCA) เมมเบรนที่ลดลงจาก 73.6° ±1.5° เป็น 63.86± 6.3° และเมื่อนำเมมเบรนที่เคลือบด้วยกรดอะคริลิค ไปเกาะติดสารละลายอนุภาคนาโนแกรฟีนออกไซด์ที่เตรียมไว้ เมื่อเปรียบเทียบเวลาในเกาะติดเมมเบรน ในนาโนแกรฟีนออกไซด์ที่ 1, 2, 4, และ 24 ชั่วโมงพบว่า ที่เวลา 24 ชั่วโมงค่ามุมสัมผัสของน้ำ ของเมม เบรนทุกความเข้มข้น (10, 20, 40 ppm) ลดลงมากที่สุด และเมมเบรนที่ผ่านกระตุ้นด้วยพลาสมาที่เกาะติด ความเข้มข้นนาโนแกนฟีนออกไซด์ 10 ppm เป็นเวลา 24 ชั่วโมงมีค่ามุมสัมผัสของน้ำ น้อยที่สุด (42.29 ± 6.2°) จากผลค่ามุมสัมผัสของน้ำแสดงให้เห็นว่าการกระตุ้นเมมบรนโดยพลาสมาและการเคลือบนาโนแก รฟีนออกไซด์ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของคุณสมบัติความชอบน้ำของเมมเบรนเส้นใยกลวงเพื่อที่จะสามารถนำเมมเบรนนี้ไปประยุกต์ใช้ในการบำบัดน้ำเสียด้วยเมมเบรนได้ |
Other Abstract: | Hydrophilic enhancement was studied by modified hollow fiber polyvinylidene fluoride (PVDF) membrane via pulse inductively coupled plasma (PICP) induced and coated with graphene oxide nanoparticles (GO). The modified PVDF membranes were characterized by using a scanning electron microscopy (SEM) and the water contact angle. SEM analyzed morphology of modified PVDF membrane surface grafted with acrylic acid polymerization (PAA) was smoother than compare with surface of pristine membrane. Water contact angle (WCA) reported PICP method and grafted with PAA were supported modified PVDF membrane to increase hydrophilicity. WCA of modified PVDF membrane with grafted PAA was decreased from 73.6° ±1.5° to 63.86 ± 6.3°. In comparison, WCA of modified PVDF membrane with grafted PAA and coated GO was lower than pristine membrane. Moreover, the WCA of modified PVDF membrane with grafted PAA and coated GO concentration of 10 ppm at 24 hours was lowest (42.29 ± 6.2°). Although, from the WCAs reported the modified PVDF membrane via PICP plasma-induced methods and coating GO exhibited hydrophilic hollow fiber PVDF membrane. There are suggested for wastewater treatment. |
Description: | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79320 |
Type: | Senior Project |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62-SP-ENVI-026 - Pitsinee Laohapakdee.pdf | 964.75 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.