Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80019
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนภัสสวงศ์ โอสถศิลป์-
dc.contributor.authorเกษธนา ลือกิจนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-23T05:12:39Z-
dc.date.available2022-07-23T05:12:39Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80019-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการบรรจุนมพาสเจอร์ไรซ์โดยการลดสัดส่วนของเสียจากข้อบกพร่องประเภทซีลไม่ติดและปริมาตรไม่ถึงที่กำหนด ในการดำเนินงานได้ใช้หลักการซิกซ์ ซิกมาในการปรับปรุงกระบวนการเริ่มจากการศึกษาสภาพปัญหา จากนั้นทำการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาด้วยแผนผังก้างปลาและใช้การออกแบบการทดลองแบบพื้นผิวตอบสนองแบบบ็อกซ์-เบห์นเคน การออกแบบพื้นผิวผลตอบสนองแบบส่วนประสมกลางแบบ CCF และการวิเคราะห์การถดถอยในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนความสมบูรณ์ในการซีล ปริมาตรในการบรรจุและปัจจัยที่มีนัยสำคัญ ผู้วิจัยได้ศึกษาปัจจัยที่อาจทำให้เกิดข้อบกพร่องประเภทซีลไม่ติดพบว่า ปัจจัยที่มีนัยสำคัญได้แก่ ระดับความร้อนในการซีลแนวนอนและระดับเวลาในการซีล ซึ่งควรปรับตั้งที่ระดับ 5 และระดับ 4 ตามลำดับ และได้ศึกษาปัจจัยที่อาจทำให้เกิดข้อบกพร่องประเภทปริมาตรไม่ถึงที่กำหนด พบว่าปัจจัยที่มีนัยสำคัญได้แก่ เวลาในการบรรจุและองศาหัวจ่ายน้ำนม ซึ่งควรปรับตั้งที่ระดับ 39และ 126 องศาตามลำดับ โดยสามารถลดสัดส่วนของเสียจากข้อบกพร่องประเภทซีลไม่ติดลงจากร้อยละ 0.9 ของปริมาณการผลิตเหลือร้อยละ 0 และสัดส่วนของเสียจากข้อบกพร่องประเภทปริมาตรไม่ถึงที่กาหนดลดลงจากร้อยละ 0.63 ของปริมาณการผลิตเหลือร้อยละ 0.04-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to improve the Pasteurized Milk Packing Process by reducing the defective rate from the seal not sticking defect and the under-filled volume defect. The Six Sigma approach was employed to make the improvement. Fishbone Diagram, Box-Behnken design, Face-Centered Central Composite Design, and Regression analysis were used to find the relationship between the seal score, the filled volume, and the significant factors. This research studied the factors that may affect the seal not sticking problem, It was found that significant factors were the horizontal sealing heat level and the sealing time, which should be set at levels 5 and 4, respectively. Regarding the under-filled volume problem, the filling time and the angle of the dispenser were studied and found that the filling time should be set at level 39, and the angle of the dispenser should be set at 126 degrees. After improvement, it was found that the defective rate regarding seal not sticking defect was reduced from 0.9 percent to 0.39 percent, and the defective rate regarding under-filled volume defect was reduced from 0.63 percent to 0.04 percent.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.983-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.titleการลดของเสียในกระบวนการบรรจุนมพาสเจอร์ไรซ์ชนิดถุง-
dc.title.alternativeDefective reduction in pasteurized milk packing process-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2021.983-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6170118721.pdf3.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.