Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80483
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศา พรชัยวิเศษกุล-
dc.contributor.authorสมใจ พิพัฒน์ผลสกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2022-09-15T05:12:36Z-
dc.date.available2022-09-15T05:12:36Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80483-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดนโยบายการสั่งซื้อที่สามารถช่วยควบคุมต้นทุนของการสั่งและต้นทุนการถือครองวัตถุดิบคงคลังให้อยู่ในระดับที่ต่ำที่สุด ผู้วิจัยได้ศึกษารูปแบบการสั่งซื้อวัตถุดิบและวิเคราะห์ข้อมูลของบริษัทกรณีศึกษา ซึ่งเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์นมในประเทศไทย โดยพบว่าบริษัทมีระดับวัตถุดิบคงคลังในปริมาณที่สูงเมื่อเทียบกับสัดส่วนความต้องการใช้จริงของการผลิต อีกทั้งยังขาดเครื่องมือที่ใช้ในการคำนวณวิเคราะห์ปริมาณการสั่ง โดยใช้แต่เพียงการคาดเดาและประสบการณ์ของผู้บริหารในการตัดสินใจสั่งซื้อวัตถุดิบแต่ละครั้ง จากปัญหาดังกล่าวผู้วิจัยจึงได้ประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS เพื่อพยากรณ์ความต้องการใช้วัตถุดิบและทดสอบค่าความคลาดเคลื่อนเพื่อเลือกวิธีการพยากรณ์ที่เหมาะสม จากนั้นนำผลลัพธ์ค่าความต้องการวัตถุดิบที่ได้มาคำนวณทดสอบหานโยบายสั่งซื้อด้วยแบบจำลองการสั่ง 2 รูปแบบ คือ แบบจำลองจุดสั่งซื้อใหม่ (Reorder Point: ROP) และแบบจำลองระดับคงคลังเป้าหมาย (Order Up-to Level: OUL) จากผลการคำนวณพบว่าการสั่งซื้อวัตถุดิบด้วยแบบจำลองระดับคงคลังเป้าหมายเป็นนโยบายที่เหมาะสมกับบริษัทกรณีศึกษาเพราะให้ผลของค่าใช้จ่ายรวมน้อยที่สุด รวมถึงระดับวัตถุดิบคงคลัง ณ สิ้นเดือนที่ลดลงเช่นกัน เมื่อเทียบกับนโยบายปัจจุบันบริษัท สามารถลดค่าใช้จ่ายรวมต่อปีลงได้ 425,438,792.40 บาทหรือประมาณ 15.23%en_US
dc.description.abstractalternativeThis Independent Study aims to determine the purchasing policy of raw materials which enables to control and minimize ordering cost and carrying cost optimally. This study analyzed related information and the current policy of company, a dairy product manufacturer in Thailand, and found that the inventory level of raw materials is overstocked, comparing with actual material consumption in production. Moreover, it is a lack of tool in calculating and analyzing the optimal purchase quantity but making decision based on the experience and assumption of Management. Hence, this study applies the SPSS program to forecast annual demand and test forecast errors to select the appropriate forecasting method. Analysis is then calculated to find out the purchasing policy by 2 models, which are Reorder Point model and Order-up-to-Level model. The study result shows that Order-up-to-Level is an appropriate model for the company in this study because it enables to decrease stock level, while annual total cost can be reduced by as much as 425,438,792.40 baht or approximately 15.23 percent.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.233-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวัตถุดิบen_US
dc.subjectการควบคุมสินค้าคงคลังen_US
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en_US
dc.subjectRaw materialsen_US
dc.subjectInventory controlen_US
dc.subjectBusiness logisticsen_US
dc.titleการกำหนดนโยบายการสั่งซื้อวัตถุดิบ : กรณีศึกษาบริษัทผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์นมในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeDetermining purchasing policy of Raw materials : a case study of dairy product manufacturer in Thailanden_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.233-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380089220_Somjai Pipat_IS_2564.pdfสารนิพนธ์ (ให้บริการเฉพาะบทคัดย่อ)3.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.