Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80523
Title: Communist “Normal” Life: The Criticism of Daily Life under a Totalitarian Regime
Other Titles: วิถีชีวิต “ปกติ” ของคอมมิวนิสต์: บทวิพากษ์ชีวิตประจำวันภายใต้ระบอบเผด็จการเบ็ดเสร็จ
Authors: Rawee Archewa
Advisors: Tul Israngura Na Ayudhya
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Subjects: Communists -- Europe
Dictators
Conduct of life -- Political aspects
คอมมิวนิสต์ -- ยุโรป
เผด็จการ
การดำเนินชีวิต -- แง่การเมือง
Issue Date: 2020
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The communist regime in Eastern Europe came after the end of Second World War by promoting the equality of people. The difference between West and East with two regimes obviously classified the living of people; the Western bloc emphasized on rights and freedom fostering the expansion of consumerist ideology. Consequently, the economic in the West developed, followed by the prosperity and well-being of people. In contrast to the Eastern bloc, it was controlled by the state and the evidences showed that the communist leaders could not serve the people’s wants and needs. While the communist state created their enormous and extravagant buildings, people had to live in the crowded apartments. There were the shortage of food and necessities, as well as the corruption, black market, and bribery grew. Slavenka Drakulić, the famous Croatian journalist and writer who experienced the life under the oppressive totalitarian regime, wrote the book namely ‘How We Survived Communism and Even Laughed’ and ‘Café Europa’ talking about the everyday life under communism and its ‘scar’ on people after democratization. These self-writings told me that the regime had much impact to the individual’s life. And the regime which could not serve the people’s wants and needs, would not survive as the evident from the demise of communism in Eastern bloc in the late 1980s.
Other Abstract: อำนาจของระบอบคอมมิวนิสต์จากสหภาพโซเวียตแผ่กระจายมายังยุโรปตะวันออกในยุคหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง โดยเน้นย้ำในเรื่องความเสมอภาค ความแตกต่างของระบอบการปกครองในสองข้าง ยุโรปทำให้วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน ยุโรปตะวันตกที่เน้นในด้าน สิทธิ เสรีภาพก่อให้เกิดแนวคิดบริโภคนิยม ทำให้เศรษฐกิจเจริญรุ่งเรืองตามมาด้วยความกินดีอยู่ดีของ ประชาชน ตรงกันข้ามกับยุโรปตะวันออกที่อำนาจทุกอย่างถูกควบคุมด้วยรัฐ ยิ่งไปกว่านั้นตัวผู้ปกครอง คอมมิวนิสต์ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ ในขณะที่รัฐสร้างตึกใหญ่โตและทันสมัย แต่ ประชาชนยังติดอยู่กับความยากจน อพาร์ทเม้นต์ที่คับแคบ การขาดแคลนอาหารและของใช้ที่จำเป็นใน ชีวิตประจำวัน ตลอดจนปัญหาการคอร์รัปชั่น ตลาดมืด และระบบการติดสินบน ในการนี้ ผลงานเขียนของ สลาเวนกา ดราคูลิช (Slavenka Drakulić) นักข่าวและนักเขียนชื่อดังชาวโครเอเชียผู้ซึ่งเคยสัมผัส ประสบการณ์ภายใต้ความกดดันของระบอบเผด็จการเบ็ดเสร็จ ได้เขียนประสบการณ์ส่วนตัวประกอบกับการ สัมภาษณ์ผู้หญิงชาวยุโรปตะวันออกที่ประสบเหตุการณ์แตกต่างกันไป ในหนังสือชื่อ How We Survived Communism and Even Laughed และ Caf. Europa ที่เล่าถึงเหตุการณ์และความรู้สึกของคนในช่วง ระบอบคอมมิวนิสต์ และบาดแผลที่ยังไม่ลบเลือนซึ่งติดตัวผู้คนไปจนถึงช่วงการปฏิวัติเป็นระบอบ ประชาธิปไตยแล้ว จนทำให้ผู้ศึกษาได้เรียนรู้ว่าระบอบการปกครองมีผลต่อวิถีชีวิตผู้คนเป็นอย่างมาก อีกทั้ง ระบอบที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนจะไม่ได้รับการสนับสนุนจนนำไปสู่การล่มสลายของ ระบอบเฉกเช่นคอมมิวนิสต์ในประเทศยุโรปตะวันออกในปลายปีค.ศ. 1980
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2020
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: European Studies
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80523
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.203
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2020.203
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Gra_Rawee_Arc_The_2020.pdf32.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.