Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80544
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชีวานันท์ เดชอุปการ ศิริสมบูรณ์ | - |
dc.contributor.author | ภัทราภรณ์ วงษ์เพ็ง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-09-27T09:05:55Z | - |
dc.date.available | 2022-09-27T09:05:55Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80544 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 | en_US |
dc.description.abstract | ปัจจุบันวิธีการควบคุมทางชีวภาพโดยใช้ยีสต์ปฏิปักษ์ในการต้านราเป็นวิธีหนึ่งที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากเพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเป็นปฏิปักษ์ของยีสต์ไอโซเลต Y08 และ Y20 ที่แยกได้จากเมล้ดกาแฟ ต่อการยังยั้งการเจริญของ A.flavus M3T8R4G3 และศึกษากลไกสำคัญในการยับยั้งการเจริญและการผลิตอะฟลาทอกซิน ผลการทดสอบพบว่า ยีสต์ปฏิปักษ์ทั้งสองไอโซเลตสามารถยับยั้งการเจริญและการผลิตอะฟลาทอกซินของ A.flavus ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้กลไกสำคัญในการยับยั้ง คือ การผลิตสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายที่มีผลต่อลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเส้นใยรา ยีสต์ ปฏิปักษ์ทั้งสองไอโซเลตสามารถยับยั้งการเจริญของราได้ 40-60 เปอร์เซ็นต์ และลดการผลิตอะฟลาทอกซินได้มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ และสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายทียีสต์ผลิตมากที่สุด คือ เอทานอล | en_US |
dc.description.abstractalternative | Currently, the biological control using antagonistic yeast is one of the particular interest to reduce the effects on the health of consumers. The objective of this study were to evaluate the antagonistic activity of antagonistic yeasts (Y08 and Y20 isolated from coffee beans) against the growth of A. flavus M3T8R4G3 and to examine the main antagonistic mechanism against the fungal growth and aflatoxin production. The results showed that all yeasts could effectively inhibit the growth and aflatoxin production of A. flavus. The main antagonistic mechanism was the production of VOCs effecting hyphal morphology. Both yeast isolates were able to inhibit the fungal growth in the range of 40-70% of inhibition and to reduce aflatoxin production more 90% of reduction. The major volatile organic compound produced by yeast was ethanol. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อะฟลาท็อกซิน | en_US |
dc.subject | สารประกอบอินทรีย์ระเหย | en_US |
dc.subject | ยีสต์ | en_US |
dc.subject | Aflatoxins | en_US |
dc.subject | Volatile organic compounds | en_US |
dc.subject | Yeast | en_US |
dc.title | ผลของสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายจากยีสต์ต่อการเจริญและการผลิตอะฟลาทอกซินของ Aspergillus flavus | en_US |
dc.title.alternative | Effect of yeast volatile organic compounds on growth and aflatoxin production of Aspergillus flavus | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63-SP-MICRO-018-Patraporn Won_2563.pdf | 41.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.