Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80648
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธารทัศน์ โมกขมรรคกุล-
dc.contributor.advisorสมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์-
dc.contributor.authorชลธิศ บำรุงวัด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2022-10-11T09:49:14Z-
dc.date.available2022-10-11T09:49:14Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80648-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (วท.ม.)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาแบบจำลองสถานการณ์ของการวางแผนขนส่งน้ำมันทางเรือจำนวน 3 ประเภทจากโรงกลั่นกรุงเทพมหานครไปเติมที่คลังน้ำมันปลายทางสุราษฎร์ธานีภายใต้ความไม่แน่นอนของอุปสงค์และความพร้อมของทรัพยากร อุปสงค์น้ำมันถูกจำลองขึ้นมาเทคนิคมอนติคาร์โล ขณะที่ตัวแปรในการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อแบบจำลองประกอบด้วย ระดับน้ำมันในถัง จำนวนและขนาดบรรทุกของเรือ ความพร้อมของเรือขนส่งในสัญญา และความพร้อมของท่าเรือ และแบบจำลองถูกสร้างเพื่อวิเคราะห์ผลลัพธ์ตามเงื่อนไขเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปริมาณบรรทุกของเรือขนส่งและนโยบายการเติมสินค้า จากสถานการณ์ปัจจุบันที่กำหนดนโยบายการเติมสินค้าแบบ 70/70/70 ซึ่งเป็นการกำหนดจุดเติมสินค้าเมื่อถังมีพื้นที่ว่าง 70 เปอร์เซ็นต์ ผลลัพธ์จากแบบจำลองแสดงให้เห็นว่าการวางแผนขนส่งด้วยเรือ 2 ลำ ที่ปริมาณบรรทุกรวม 3.2 ล้านลิตร ทำให้เกิดต้นทุนรวมค่าขนส่งต่ำที่สุด สำหรับนโยบายทางเลือกที่ปรับปรุงจุดเติมสินค้าของน้ำมันดีเซลหมุนเร็วเมื่อถังมีพื้นที่ว่าง 60 เปอร์เซ็นต์ ได้ส่งผลต่ออรรถประโยชน์ในการใช้เรือเพิ่มขึ้น การลดลงของน้ำมันขาดมือที่คลังปลายทาง และต้นทุนรวมค่าขนส่งที่ลดลง จากผลลัพธ์แสดงให้เห็นว่าประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและต้นทุนมีผลกระทบมาจากนโยบายการเติมสินค้าและจำนวนเรือขนส่งen_US
dc.description.abstractalternativeThis research develops a simulation model for planning oil vessel operation to move three types of oil from Bangkok’s Refinery to replenish the storage tanks at Surat Thani under uncertain demand and available resource. The demand is simulated using the Monte Carlo technique while the operation is subjected to the availability of key resources including oil tank capacity, number and size of own contracted vessels and their availability, and the availability of berth. The model is validated through analyzing a number of simulation scenarios varying in the number and size of own vessels and the replenishment policy. The base scenario assumes 70/70/70 replenishment policy which sets the reorder point when the tank has 70 percent empty. The result show that operation utilizing 2 vessels with 3.2 million liters capacity will likely lead to the lowest total cost. A specific alternative scenario setting the reorder point of the HSD oil at the 60 percent of tank’s empty will likely result in an increase in the utilization of vessels, a reduction in the oil shortage, and a lower total cost. The results indicate that the operation and financial performance can be affected by the changes in replenishment policy and the size of vessels.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.230-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการขนส่งทางน้ำen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมน้ำมัน -- การขนส่งen_US
dc.subjectShippingen_US
dc.subjectOil industries -- Transportationen_US
dc.titleการวางแผนการขนส่งน้ำมันทางเรือภายใต้ความไม่แน่นอนของอุปสงค์และความพร้อมของทรัพยากรen_US
dc.title.alternativePlanning of oil vessel scheduling under uncertain demand and resource availabilityen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2020.230-
Appears in Collections:Grad - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6280008320_Chonlatid.pdf3.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.