Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80688
Title: | การลดความสูญเสียในโซ่อุปทานของการส่งออกชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ |
Other Titles: | Loss deduction in a supply chain of automotive part |
Authors: | วิศรุตา พูนพิพัฒน์กุล |
Advisors: | กฤษณา วิสมิตะนันทน์ สมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Subjects: | อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ การบริหารงานโลจิสติกส์ Automobile supplies industry Business logistics |
Issue Date: | 2563 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการทำงานของ บริษัทกรณีศึกษา ส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์ เพื่อลดปัญหาการส่งมอบสินค้าที่ไม่ตรงความต้องการของลูกค้า การศึกษานี้ได้ปรุะยุกต์ใช้แนวคิด ลีน ซิกซ์ ซิกมา (Lean Six Sigma) และดำเนินการผ่านกระบวนการที่เรียกว่า DMAIC (Define-Measure-Analysis-Improve-Control) จากข้อมูลข้อร้องเรียนปัญหาคุณภาพสินค้าศึกษาพบว่าอาการสำคัญของปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ปัญหาทันที คือ ปัญหาสินค้าจัดส่งไม่ครบ หรือเกินจำนวน ซึ่งจะอาจเกี่ยวข้องกับกระบวนการในห่วงโซ่อุปทานทั้งหมด ตั้งแต่ผู้จัดหาวัตถุดิบไปยังลูกค้า แต่เนื่องจากข้อจำกัด ในการรวบรวมข้อมูลภาคสนามเนื่องจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 ขอบเขตของการศึกษาจำกัดเฉพาะขั้นตอนการทำงานในคลังสินค้า กาวิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริงจะระบุสาเหตุหลักดังต่อไปนี้ 1) ภาระงานไม่เพียงพอ 2) การฝึกอบรมที่ไม่ดี 3) อุปกรณ์ชั่งน้ำหนักที่ไม่ดี และการเสนอแนวทางปรับปรุงพนักงาน ได้แก่ 1) การปรับสมดุลกำลังคนและการใช้งานล่วงเวลา 2) โปรแกรมการฝึกอบรมใหม่ 3) พัฒนาการควบคุมภาพเพื่อป้องกันข้อผิดพลาดที่สถานีชั่งน้ำหนักและปรับปรุงอุปกรณ์น้ำหนัก คาดว่าการดำเนินการแก้ไขที่เสนอจะนำไปสู่การลดต้นทุนพนักงานชั่วคราว 11% และปัญหาการจัดส่งลดลง 75% |
Other Abstract: | The purpose of this research is to improve work processes of a case of company selling automotive part to reduce the problem of failing to deliver products to customers’ requirement. The study adopts the Lean Six Sigma (Lean Six Sigma) method and is conducted through the so-called DMAIC (Define, Measure, Analysis, Improve, and Control) process. Based on the data on product quality claims, the study finds that the key symptom of the problem that needs immediate attention is the failure to delivery product at the right quantity. While, this problem may concern few process of the whole supply chain from supplier to the customer but in the light of the limitation on field data collection due to the COVID-19 pandemic the scope of the study is limited to the work process in warehouse. The analysis of root causes identifies these following main causes: 1) insufficient workload 2) poor training 3) poor weighing equipment. The corrective actions proposed to improve the workforce include 1) Manpower balancing & the use of overtime 2) New training program 3) Develop the visual control to prevent error at the weighing station and improve weight equipment. It is estimated that the proposed corrective actions will likely lead to 11% reduction in the cost of temporary staff and 75% reduction in delivery problems. |
Description: | สารนิพนธ์ (วท.ม.)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | การจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา) |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80688 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.228 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.IS.2020.228 |
Type: | Independent Study |
Appears in Collections: | Grad - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6280063820_Wisaruta.pdf | 4.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.