Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80981
Title: Storytelling techniques, social media strategies, and tourism destination images of Thailand by Chinese Douyin content creators
Other Titles: เทคนิคการเล่าเรื่อง กลยุทธ์ในการใช้สื่อสังคม และภาพลักษณ์จุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยโดย นักสร้างสรรค์เนื้อหาโต่วอิน
Authors: Xuanrui Xiao
Advisors: Jessada Salathong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Communication Arts
Issue Date: 2021
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study explores the storytelling techniques, social media strategies, and tourism destination images of Thailand by ten famous Chinese Douyin content creators. Two qualitative approaches conduct to obtain data. A narrative analysis examines the storytelling techniques of Douyin content creators, and the tourism destination images of Thailand portrayed by them. An in-depth interview is conducted to examine the social media strategies of Chinese Doyin content creators and tourism destination images of Thailand held in their minds. As a result, fifty vlogs are collected and analyzed to obtain 20 attributes under three categories of storytelling techniques and 8 attributes of tourism destination images of Thailand. Four informants are interviewed to obtain 26 attributes under 8 categories of social media strategies and 17 attributes of tourism destination image of Thailand held by content creators. The results show that Chinese Douyin content creators have unique storytelling techniques that can be combined with social media strategies and help them portray Thailand’s tourism destination images. It is hoped that the content creators and private and public tourism sectors of Thailand will adopt storytelling techniques and social media strategies to create effective marketing strategies to reach the target group and portray positive destination images of Thailand.
Other Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเทคนิคการเล่าเรื่อง กลยุทธ์การใช้สื่อสังคม และภาพลักษณ์จุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย ผ่านผู้สร้างเนื้อหา Douyin ชาวจีนที่มีชื่อเสียง จำนวน 10 คน โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพในการเก็บข้อมูล คือ การวิเคราะห์เรื่องเล่าเพื่อตรวจสอบเทคนิคการเล่าเรื่องของผู้สร้างเนื้อหา Douyin และภาพลักษณ์จุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยที่ถูกนำเสนอ  และการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อตรวจสอบกลยุทธ์การใช้สื่อสังคมของผู้สร้างเนื้อหา Doyin ชาวจีนและความคิดเกี่ยวกับภาพลักษณ์จุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย ผู้วิจัยได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูล จำนวน 50     วีล็อก (Vlog) และทำการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว ผลการวิเคราะห์ พบว่า มี 20 คุณลักษณะเฉพาะภายใต้เทคนิคการเล่าเรื่อง จำนวน 3 ประเภท และ 8 คุณลักษณะเฉพาะของภาพลักษณ์จุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย นอกจากนี้ ผู้วิจัยยังได้ทำการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 4 คน และวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว พบว่ามี  26 คุณลักษณะเฉพาะ กลยุทธ์กลยุทธ์การใช้สื่อสังคม จำนวน 8 ประเภท และ 17 คุณลักษณะเฉพาะของภาพลักษณ์จุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยที่ถูกนำเสนอผ่านผู้สร้างเนื้อหา ​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า ผู้สร้างเนื้อหา Douyin ชาวจีนได้ใช้เทคนิคการเล่าเรื่องที่มีรูปแบบเฉพาะตัวผสานกับกลยุทธ์การใช้สื่อสังคม เพื่อถ่ายทอดภาพลักษณ์จุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย โดยหวังว่าผู้สร้างเนื้อหาและหน่วยงานการท่องเที่ยวทั้งภาครัฐและเอกชนของประเทศไทยจะนำเทคนิคการเล่าเรื่องและกลยุทธ์การใช้สื่อสังคมดังกล่าวเพื่อสร้างกลยุทธ์การตลาดที่มีประสิทธิภาพในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและสามารถถ่ายทอดภาพลักษณ์จุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยในเชิงบวก
Description: Thesis (M.A. (Communication Arts))--Chulalongkorn University, 2021
Degree Name: Master of Arts (Communication Arts)
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Strategic Communication Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80981
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.375
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2021.375
Type: Thesis
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6388004528.pdf4.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.