Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81340
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิริกัญญา โฆวิไลกูล | - |
dc.contributor.author | ชนาธิป ลิ้มขจรเดช | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-12-01T07:14:41Z | - |
dc.date.available | 2022-12-01T07:14:41Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81340 | - |
dc.description | เอกัตศึกษา น.ม. (การเงิน/ภาษีอากร)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาปัญหาของกระบวนการในการบังคับหลักประกันทางธุรกิจตามพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558 ซึ่งกระบวนการในการบังคับหลักประกันทางธุรกิจยังมีความไม่ ชัดเจนในบางเรื่อง บางเรื่องกฎหมายมิได้กำหนดไว้ ทำให้เกิดปัญหาในการปรับใช้และตีความเกี่ยวกับกระบวนการ ในการบังคับหลักประกัน เอกัตศึกษานี้ทำการศึกษาโดยการสัมภาษณ์ เก็บรวบรวมข้อมูลถึงสภาพปัญหาของกระบวนการบังคับ หลักประกันทางธุรกิจ โดยศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากกฎหมายที่เกี่ยวข้อง บทความและหนังสือต่างๆ ซึ่ง นำมาวิเคราะห์กับหลักกฎหมาย Uniform Commercial Code ของประเทศสหรัฐอเมริกาและหลัก Floating Charge ของประเทศอังกฤษ วิจัยนี้พบว่ามีปัญหาในการบังคับหลักประกันทางธุรกิจในเรื่องการใช้สิทธิของผู้รับหลักประกันในการ บังคับหลักประกันทางธุรกิจ ขั้นตอนการบังคับหลักประกัน การใช้สิทธิทางศาลเกี่ยวกับการขอบังคับหลักประกัน และการขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลทางทะเบียนกับหน่วยงานของรัฐ ทำให้ผู้รับหลักประกันบังคับหลักประกันได้ช้าลง ซึ่งไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการบัญญัติกฎหมายฉบับนี้ เอกัตศึกษานี้ได้เสนอแนวทางการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558 โดย การตัดเงื่อนไขในการบังคับหลักประกันออกบางส่วน เพื่อให้ผู้รับหลักประกันมีสิทธิในการบังคับหลักประกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และกำหนดขั้นตอนในการบังคับหลักประกันไว้เป็นการเฉพาะ โดยไม่ต้องอาศัยการตีความ จากบทบัญญัติกฎหมายฉบับอื่น และกำหนดอำนาจในการใช้สิทธิทางศาลเพิ่มเติม เพื่อลดโอกาสในการยักย้าย ถ่ายเททรัพย์สิน และกำหนดเอกสารให้มีรูปแบบมาตรฐานและขั้นตอนในการติดต่อกับหน่วยงานของรัฐให้ชัดเจน ยิ่งขึ้น | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.184 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- ทรัพย์สิน | en_US |
dc.subject | หลักประกัน | en_US |
dc.title | ปัญหาของกระบวนการในการบังคับหลักประกันทางธุรกิจ | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กฎหมายการเงินและภาษีอากร | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject.keyword | การบังคับหลักประกัน | en_US |
dc.subject.keyword | พระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2020.184 | - |
Appears in Collections: | Law - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6280194034.pdf | 1.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.