Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81372
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พีรพัฒ โชคสุวัฒนสกุล | - |
dc.contributor.author | ฉัตติกา มูลละ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-12-07T07:26:10Z | - |
dc.date.available | 2022-12-07T07:26:10Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81372 | - |
dc.description | เอกัตศึกษา น.ม. (การเงิน/ภาษีอากร)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 | en_US |
dc.description.abstract | กฎหมายเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยกำหนดทิศทางของการพัฒนาประเทศ ทั้งยังส่งผลกระทบอีกหลายประการไม่ว่าจะในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการปกครอง จึงมีความพยายามที่จะเพิ่มคุณภาพของกฎหมายให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในขณะเดียวก็ส่งผลกระทบต่อสังคมน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้โดยการนำการวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมาย (Regulatory Impact Analysis/ Regulatory Impact Assessment หรือ RIA) ซึ่งเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพของกฎหมายมาเป็นหลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์เพื่อใช้ในการประกอบกระบวนการตรากฎหมาย โดยเอกัตศึกษาฉบับนี้มุ่งเน้นที่จะศึกษาในเรื่องของการวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมายก่อนการเข้าร่วมความตกลงระหว่างประเทศ โดยจะศึกษาในกรณีของการเข้าร่วมความตกลงว่าด้วยความตกลงพหุภาคีว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือด้านการบริหารภาษี (Convention on Mutual Administrative Assistance in Tax Matter : MAC) รวมถึงวิเคราะห์ผลกระทบหากมาตรการนี้บังคับใช้ จากการศึกษาพบว่า เพื่อให้ประเทศไทยได้รับประโยชน์สูงสุดจากการเข้าร่วมความตกลงระหว่างประเทศ ควรมีการกำหนดให้มีกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบก่อนที่จะเข้าไปมีผลผูกพันกับความตกลงหรืออนุสัญญานั้น ๆ ทั้งนี้เพื่อพิจารณาว่าการเข้าร่วมความตกลงนั้นคุ้มค่าหรือไม่เมื่อเทียบกับผลกระทบ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.174 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ความตกลงระหว่างประเทศ | en_US |
dc.subject | การแลกเปลี่ยนข้อมูล--ภาษี | en_US |
dc.title | บทบาทของการวิเคราะห์ผลกระทบทางกฎหมายก่อนการทำข้อตกลงระหว่างประเทศ : กรณีศึกษาการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้เสียภาษีตามพันธกรณีระหว่างประเทศ | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กฎหมายการเงินและภาษีอากร | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject.keyword | การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางภาษี | en_US |
dc.subject.keyword | การบริหารภาษี | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2020.174 | - |
Appears in Collections: | Law - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6280020534.pdf | 1.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.