Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81415
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอื้ออารีย์ อิ้งจะนิล-
dc.contributor.authorวิชาญ นวมงคลสวาท-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-12-19T07:26:39Z-
dc.date.available2022-12-19T07:26:39Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81415-
dc.descriptionเอกัตศึกษา น.ม. (การเงิน/ภาษีอากร)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564en_US
dc.description.abstractเอกัตศึกษาเล่มนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาแนวทางการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรมของประเทศไทย ซึ่งประสบปัญหาจากการกำหนดหลักเกณฑ์การใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรมที่ขาดประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดปัญหาในหลายประการ ตลอดจนศึกษาถึงแนวทางการกำหนดหลักเกณฑ์การใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรมของต่างประเทศ ได้แก่ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะรัฐนิวเจอร์ซี่ รัฐนิวยอร์ก รัฐมิชิแกน และรัฐแอริโซน่า เพื่อนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบและนำเสนอถึงการกำหนดหลักเกณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทยต่อไป จากการศึกษาระบุให้เห็นอย่างเป็นที่ประจักษ์ว่า หลักเกณฑ์การใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรมของประเทศไทยมีการกำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพิจารณาจำนวนต้นไม้และชนิดต้นไม้ที่ปลูกต่อไร่ก่อให้เกิดปัญหาการบังคับใช้ที่ขาดความชัดเจน ขัดต่อหลักภาษีอากรที่ดี และขัดต่อวัตถุประสงค์ของการบังคับใช้ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างพ.ศ. 2562 ในหลายประการ พร้อมทั้งก่อให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติ อนึ่ง จากการศึกษาและพิจารณาหลักเกณฑ์ของต่างประเทศที่พัฒนาแล้ว คือสหรัฐอเมริกา พบว่าหลักเกณฑ์การใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรมของต่างประเทศได้มีการกำหนดให้ครอบคลุมถึงประเด็นปัญหาประการต่างๆของประเทศไทยไว้ ด้วยเหตุตามที่กล่าวไปแล้วข้างต้น ผู้เขียนจึงเสนอแนะให้ประเทศไทยนำหลักเกณฑ์การใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรมของต่างประเทศคือ สหรัฐอเมริกา ประกอบกับการกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามกฎหมายผังเมืองมาปรับใช้กับหลักเกณฑ์การใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรมของประเทศไทย เพื่อให้การจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตลอดจนหลักเกณฑ์ในการกำหนดการใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรมของประเทศไทยเป็นหลักเกณฑ์ที่มีประสิทธิภาพ มีความชัดเจนในการจัดเก็บภาษีมากขึ้นen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.201-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาษีที่ดินen_US
dc.subjectเกษตรกรรม-ภาษีen_US
dc.titleปัญหาการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์ประเภทเกษตรกรรมในประเทศไทยen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายการเงินและภาษีอากรen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subject.keywordภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างen_US
dc.subject.keywordการจัดเก็บภาษีทรัพย์สินen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.201-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380185534.pdf6.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.