Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81418
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อังคณาวดี ปิ่นแก้ว | - |
dc.contributor.author | ปวันรัตน์ วีรพัฒนาสุวรรณ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-12-19T08:29:52Z | - |
dc.date.available | 2022-12-19T08:29:52Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81418 | - |
dc.description | เอกัตศึกษา น.ม. (การเงิน/ภาษีอากร)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | เอกัตศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีเงินประกันและเงินมัดจำจากการให้เช่าทรัพย์สินของประเทศไทยในปัจจุบัน โดยนำหลักการทั่วไปทางภาษีเกี่ยวกับภาษีอากรที่ดีมาประกอบกับการตีความกฎหมายภาษีอากร เพื่อพิจารณาถึงความเป็นเงินได้พึงประเมินของเงินประกันและเงินมัดจำในกรณีต่าง ๆ ว่ามีลักษณะเป็นเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากรหรือไม่ ผลการศึกษาพบว่า การจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคลจากเงินประกันที่ผู้ให้เช่าต้องคืนแก่ผู้เช่า เมื่อสิ้นสุดสัญญาเช่า และเงินประกันที่ผู้เช่าหักหรือริบเมื่อผู้เช่าไม่ปฏิบัติตามสัญญาหรือทำให้เกิดความเสียหาย รวมถึงการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลจากเงินมัดจำที่คู่สัญญาตกลงให้คืนทั้งหมด เมื่อสัญญาเช่าสิ้นสุด เงินมัดจำที่ตกลงให้เป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่า และเงินมัดจำที่ไม่ได้มีการตกลงว่าต้องคืนหรือเป็นส่วนหนึ่งของการชำระหนี้ที่ไม่เข้าข้อยกเว้นตาม ข้อ 3(2) คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 73/2541 เรื่อง การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการเรียกเงินจ่ายล่วงหน้า เงินประกัน มัดจำ หรือเงินจอง ซึ่งแก้ไขโดยคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 74/2541 กรมสรรพากรจัดเก็บภาษีเงินได้ โดยตีความคำว่าเงินได้พึงประเมิน กว้างเกินกว่าความหมายที่ประมวลรัษฎากรกำหนดไว้ ซึ่งไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของฝ่ายนิติบัญญัติ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในการจัดเก็บภาษีในกรณีดังกล่าว จึงขอเสนอให้มีการเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินที่ได้รับจากการให้เช่าทรัพย์สิน เพื่อให้การจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นไปตามหลักการทั่วไปทางภาษีอากร | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.208 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- เช่าทรัพย์ | en_US |
dc.subject | ภาษีเงินได้--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.title | ปัญหาภาษีเงินได้ กรณีเงินประกัน และเงินมัดจำจากการให้เช่าทรัพย์สิน | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กฎหมายการเงินและภาษีอากร | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject.keyword | เงินประกัน | en_US |
dc.subject.keyword | การเช่าทรัพย์ | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2021.208 | - |
Appears in Collections: | Law - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6380169534.pdf | 759.19 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.