Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81421
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยะบุตร บุญอร่ามเรือง-
dc.contributor.authorธนกร สามคุ้มพิมพ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-12-20T03:36:15Z-
dc.date.available2022-12-20T03:36:15Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81421-
dc.descriptionเอกัตศึกษา น.ม. (การเงิน/ภาษีอากร)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564en_US
dc.description.abstractโดยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบัน ส่งผลให้การประกอบธุรกิจการค้าขายต่าง ๆ ของประชาคมโลกมีปริมาณเพิ่มขึ้นทั้งในด้านของปริมาณสิงค้าและบริการ การเชื่อมโยงของระบบการชำระเงิน ตลอดจนถึงการเคลื่อนย้ายเงินทุนไปมาระหว่างกันในแต่ละประเทศ เป็นต้น อย่างไรก็ตามภาคธุรกิจมักอาศัยช่องว่างทางกฎหมายของรัฐต่าง ๆ ที่ใช้ในการบริหารและจัดเก็บภาษีมาเพื่อการแสวงหาผลประโยชน์เฉพาะส่วนตน จากการณีดังกล่าวการที่การบริหารและจัดเก็บภาษีจะมีประสิทธิได้หรือไม่นั้น ข้อมูลที่เป็นส่วนหนึ่งและเป็นสิ่งพื้นฐานจำเป็นสำหรับใช้ในการบริหารและจัดเก็บภาษีให้มีความถูกต้อง โปร่งใส และเป็นธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ย่อมเป็นสิ่งสำคัญยิ่งที่ประเทศต่าง ๆ ควรจะได้รับและเข้าถึงเพื่อใช้ในการบริหารจัดเก็บภาษีของตน โดยองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) ได้มีการกำหนดกรอบและแนวทางในการการแลกเปลี่ยนข้อมูลแบบร้องข้อ (Exchange of information on request : EOIR) ซึ่งปัจจุบันมีการกำหนดกรอบแนวทางไว้เพื่อให้ประเทศที่ได้รับการร้องขอข้อมูลต้องมีมาตรฐานและกลไกการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เหมาะสมและถูกต้อง รวดเร็ว โดยในการแลกเปลี่ยนข้อมูลแบบร้องขอนี้ ประเทศที่เข้าร่วมจะต้องได้รับการประเมินมาตรฐานการรองรับการแลกเปลี่ยนข้อมูล (Peer reviews) จากคณะทำงานการตรวจสอบของ Global Forum ซึ่งผลการประเมินจะมีการให้คะแนนตามลำดับของการปฏิบัติตามาตรฐานที่ OECD กำหนด จากการศึกษาพบว่าประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิก Global Forum on Transparency and Exchange of Information for Tax Purposes (Global Forum) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้น ประเทศไทยจึงต้องเข้ารับการประเมิน ซึ่งตามกำหนดจะมีการประเมินในช่วงปี 2565 ซึ่งการประเมินจะมีการดำเนินตรวจสอบใน 3 หลักการ ซึ่งจากการศึกษานั้นพบว่าในบางปัจจัยประเทศไทยยังขาดความพร้อมในด้านของข้อกำหนดทางกฎหมาย ซึ่งหากประเทศไทยจะผ่านการประเมินด้วยคะแนนที่ดีได้จำต้องมีการออกกฎหมายเพื่อรองรับกรอบข้อกำหนดตามแนวทางของ OCED ให้เสร็จสิ้นพร้อมก่อนการประเมินด้วยen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.210-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการจัดเก็บภาษีen_US
dc.subjectกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- แลกเปลี่ยนen_US
dc.titleกรณีศึกษาการแลกเปลี่ยนข้อมูลแบบร้องขอและการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ความตกลงระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิกen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายการเงินและภาษีอากรen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subject.keywordการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางภาษีen_US
dc.subject.keywordภาษีอากรระหว่างประเทศen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.210-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380154034.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.