Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81424
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิยะบุตร บุญอร่ามเรือง | - |
dc.contributor.author | บุณยกร มุสิโก | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-12-20T07:18:11Z | - |
dc.date.available | 2022-12-20T07:18:11Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81424 | - |
dc.description | เอกัตศึกษา น.ม. (การเงิน/ภาษีอากร)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | บทคัดย่อฉบับนี้มุ่งศึกษาผลกระทบต่อรายได้ของผู้ประกอบการซึ่งขายสินค้าออนไลน์ที่เกิดจากการ รายงานข้อมูลของบุคคลที่มีธุรกรรมลักษณะเฉพาะ เนื่องด้วยการค้าขายสินค้าออนไลน์หรือการค้าในธุรกิจ E- Commerce ในปัจจุบันได้รับความนิยมไปทั่วโลก ทำให้มีบุคคลธรรมดาเริ่มมีการขายสินค้าออนไลน์เพิ่มขึ้นทุกปี ประกอบกับการขายสินค้าออนไลน์จะมีรูปแบบการชำระเงินในรูปแบบการชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์มากกว่าลักษณะเฉพาะในปีที่ล่วงมาแล้ว ผู้เขียนจึงได้ศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นของผู้ประกอบการซึ่งขายสินค้าออนไลน์ที่เกิดจากการ รายงานข้อมูลของบุคคลที่มีธุรกรรมลักษณะเฉพาะ โดยการวิจัยครั้งที่เป็นวิจัยเชิงสำรวจ มีขอบเขตการวิจัยดังนี้ 1) ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ประกอบการ 414 คน 2) เครื่องมือที่ใช้ในการทำการชำระเงินผ่านผู้ขายโดยตรง ซึ่งรูปแบบการชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ก็จะมีสถาบันการเงินเป็นตัวกลางในการชำระเงินระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ประกอบกับตามที่ประมวลรัษฎากรได้มีการออกกฎหมายกำหนดให้สถาบันการเงินหรือผู้ให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายเป็นผู้มีหน้าที่รายงานข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลที่มธุรกรรมที่มีวิจัยคือแบบสอบถามในรูปแบบออนไลน์(google forms) 3)วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายการแจกแจงความถี่ จำนวน ร้อยละ และเปรียบเทียบค่าคำตอบที่ได้โดยดูค่าความสัมพันธ์ ของตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบ ผลวิจัยครั้งหลักเกณฑ์การจัดให้ผู้ให้บริการรายงานข้อมูลนั้นก็ยังครอบคลุมบุคคลได้น้อย ยังมีบุคคลอีกจำนวนมากที่เข้าหลักเกณฑ์มีหน้าที่เสียภาษีแต่ไม่ถูกรายงานและการรายงานข้อมูลก็ยังไม่อาจทราบได้ว่าเป็นผู้ประกอบการขายสินค้าออนไลน์บ้าง อีกทั้งยังมีตัวแปรอื่น ๆ ที่ส่งผลทำให้ผู้ประกอบการแม้ว่าไม่มีการเสียภาษี แต่ก็ไม่ได้รับหมายเรียกจากเจ้าพนักงานประเมิน ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า รายงานข้อมูลของบุคคลที่มีธุรกรรมลักษณะเฉพาะ ไม่ส่งผลกระทบต่อรายได้ของผู้ประกอบการซึ่งขายสินค้าออนไลน์ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.212 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การจัดเก็บภาษี | en_US |
dc.subject | ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ--ภาษี | en_US |
dc.title | ผลกกระทบต่อรายได้ของผู้ประกอบการซึ่งขายสินค้าออนไลน์ที่เกิดจากการรายงานข้อมูลบุคคลที่มีธุรกรรมลักษณะเฉพาะ : ศึกษากรณีผู้มีเงินได้เป็นบุคคลธรรมดา | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กฎหมายการเงินและภาษีอากร | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject.keyword | การซื้อขายสินค้าออนไลน์ | en_US |
dc.subject.keyword | ธุรกิจอีคอมเมิร์ซ | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2021.212 | - |
Appears in Collections: | Law - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6380168934.pdf | 1.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.