Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81426
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัฒนาพร โกวพัฒนกิจ-
dc.contributor.authorธนัชพร ฉันทาวรานุรักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-12-21T02:22:35Z-
dc.date.available2022-12-21T02:22:35Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81426-
dc.descriptionเอกัตศึกษา น.ม. (การเงิน/ภาษีอากร)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564en_US
dc.description.abstractปัจจุบันการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัทประกันชีวิต ประมวลรัษฎากรมาตรา 65 ตรี (1) (ก) กำหนดให้บริษัทประกันชีวิตมีสิทธินำเงินสำรองประกันภัยสำหรับสำหรับสัญญาประกันภัยระยะยาวมาหักเป็นรายจ่ายของกิจการได้ไม่เกินร้อยละ 65 ของจำนวนเบี้ยประกันภัยรับสุทธิ และมาตรา 65 ตรี (1) (ข) กำหนดให้บริษัทประกันชีวิตมีสิทธินำเงินสำรองประกันภัยสำหรับสัญญาประกันภัยระยะสั้นมาหักเป็นรายจ่ายของกิจการได้ไม่เกินร้อยละ 40 ของจำนวนเบี้ยประกันภัยรับสุทธิ อย่างไรก็ดี ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการจัดสรร เบี้ยประกันภัยไว้เป็นเงินสำรองประกันภัย สำหรับกรมธรรม์ประกันภัยที่ยังมีความผูกพันอยู่และเงินสำรองอื่นของบริษัทประกันชีวิต พ.ศ. 2554 กำหนดให้บริษัทประกันชีวิตใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ประกันภัยใน การคำนวณมูลค่าเงินสำรองประกันภัย เพื่อวัตถุประสงค์ในการกำกับดูแลความมั่นคงทางการเงินของ บริษัทประกันชีวิต และเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทประกันชีวิตจะสามารถเงินเอาประกันภัยตามกรมธรรม์ประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัยได้อย่างครบถ้วน ความแตกต่างของหลักเกณฑ์วิธีการคำนวณเงินสำรองประกันภัยตามประมวลรัษฎากรกับ หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ส่งผลให้ในกรณีที่มูลค่าเงินสำรองประกันภัยที่คำนวณตามหลักการทางคณิตศาสตร์ประกันภัยมีมูลค่าสูงเกินกว่าอัตราที่ประมวลรัษฎากรกำหนด บริษัทประกันชีวิตจะจะต้องนำ เงินสำรองประกันภัยส่วนที่เกินดังกล่าวไปบวกกลับเป็นรายได้ของกิจการ ซึ่งส่งผลกระทบทำให้บริษัทประกันชีวิตต้องรับภาระภาษีสูงขึ้น ดังนั้น เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงเสนอให้แก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์วิธีการคำนวณ เงินสำรองประกันภัยตามประมวลรัษฎากรโดยอนุญาตให้บริษัทประกันชีวิตสามารถนำเงินสำรองประกันภัยที่คำนวณตามหลักการทางคณิตศาสตร์ประกันภัยมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้ทั้งจำนวนen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.214-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectบริษัทประกันภัยen_US
dc.subjectประกันชีวิต -- การเงิน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.titleผลกระทบจากความไม่เหมาะสมของหลักเกณฑ์การคำนวณเงินสำรองประกันภัยเพื่อหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิของบริษัทประกันชีวิตตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี (1)en_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายการเงินและภาษีอากรen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subject.keywordบริษัทประกันชีวิตen_US
dc.subject.keywordการคำนวณเงินสำรองประกันภัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.214-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380157034.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.