Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81743
Title: Computed tomography appearance of intra-thoracic lymph nodes in normal cats
Other Titles: ลักษณะภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ของต่อมน้ำเหลืองภายในทรวงอกของแมวปกติ
Authors: Ninlawan Thammasiri
Advisors: Nan Choisunirachon
Damri Darawiroj
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science
Issue Date: 2017
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The study of the appearance of intra-thoracic lymph nodes in the cat observed on the computed tomography which divided into 3 parts as following; the feline soft cadaver, clinically normal cats and the retrospective study of the feline patients. The result showed that the computed tomographic images of feline soft tissue cadavers could not detected any intra-thoracic lymph nodes. However, based on the study on 30 clinically normal cats which were mixed breed, age ranging from 4 months to 11 years old, body weight between 1.5 to 5.7 kilogram, 12 male cats (6 castrated) and 18 female cats (10 spayed) and body condition score between 2 to 5, intra-thoracic lymph nodes could be more detected in the cat that the age was more than 7 months old. Besides, only the sternal, cranial mediastinal and tracheobronchial lymph nodes could be detected on the post-contrast enhanced CT images, but not the intercostal lymph node (6/30, 10/30, 7/30 and 0/30 nodes, respectively). The maximal wideness of the sternal, cranial mediastinal and tracheobronchial lymph node on the axial, post-contrast enhanced CT images were 4.18 ± 1.62 mm, 5.70 ± 2.41 mm and 4.30 ± 2.19 mm, respectively. Comparing between the CT machine setting, the slice thickness at the 1.25 mm showed the similar detection score of the normal intra-thoracic lymph node as that of the 0.625 mm (p > 0.05). Finally, based on the retrospective study, 9 cats were included. The intra-thoracic lymph nodes of 8 cats could not be detected, but a cat revealed a large cranial mediastinal mass.
Other Abstract: การศึกษาลักษณะของต่อมน้ำเหลืองภายในทรวงอกของแมวบนภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ โดยทำการศึกษาในซากแมวเสียชีวิต แมวมีชีวิตที่มีลักษณะทางคลินิกปกติ และการศึกษาย้อนหลังจากประวัติแมวป่วยที่เข้ารับการตรวจวินิจฉัยด้วยการถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ จากผลการศึกษาพบว่า ไม่สามารถตรวจพบต่อมน้ำเหลืองภายในทรวงอกของซากแมวบนภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ ทว่าเมื่อศึกษาในแมวมีชีวิตที่มีลักษณะปกติทางคลินิกจำนวน 30 ราย คละสายพันธุ์ อายุระหว่าง 4 เดือน ถึง 11 ปี น้ำหนักตัวระหว่าง 1.5 ถึง 5.7 กิโลกรัม แมวเพศผู้จำนวน 12 ตัว (ทำหมันจำนวน 6 ตัว) และ แมวเพศเมียจำนวน 18 ตัว (ทำหมันจำนวน 10 ตัว) คะแนนความสมบูรณ์ของร่างกายมีค่าระหว่าง 2 ถึง 5 พบว่าในแมวเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 7 เดือนสามารถตรวจพบต่อมน้ำเหลืองได้น้อยกว่าแมวที่มีอายุมากกว่า 7 เดือน นอกจากนั้น ในแมวปกติ สามารถตรวจพบต่อมน้ำเหลืองได้เฉพาะบริเวณกระดูกสันอก (6/30) ประจันอก (10/30) และทางแยกหลอดลม (7/30) บนภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ภายหลังการฉีดสารเพิ่มความชัดภาพ แต่ตรวจไม่พบต่อมน้ำเลืองบริเวณกระดูกซี่โครง (0/30) ความกว้างของต่อมน้ำเหลืองบริเวณกระดูกสันอก ประจันอก และทางแยกหลอดลมบนภาพด้านตัดขวางของภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ภายหลังการฉีดสารเพิ่มความชัดภาพ มีค่าเท่ากับ 4.18 ± 1.62 มิลลิเมตร 5.70 ± 2.41 มิลลิเมตร และ 4.30 ± 2.19 มิลลิเมตรตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบการตั้งค่าการบันทึกภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์พบว่าความหนาภาพที่1.25มิลลิเมตร ให้คะแนนการตรวจพบต่อมน้ำเหลืองในทรวงอกของแมวปกติไม่แตกต่างจากความหนาภาพที่0.625 มิลลิเมตร (p > 0.05). สำหรับการศึกษาย้อนหลังจากประวัติสัตว์ป่วยแมวเข้าร่วมในการศึกษาจำนวน 9 ตัว ไม่พบปุ่มน้ำเหลืองในทรวงอกของแมวบนภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ในแมวจำนวน  8 ตัว และตรวจพบก้อนเนื้อบริเวณประจันอกในแมวจำนวน 1 ตัว
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2017
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Veterinary Surgery
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81743
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.564
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2017.564
Type: Thesis
Appears in Collections:Vet - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5875312331.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.