Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81924
Title: | Perceived image of Samui Island from local stakeholders |
Other Titles: | การรับรู้ภาพลักษณ์เกาะสมุยของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในท้องถิ่น |
Authors: | Ponatip Phetrat |
Advisors: | Jessada Salathong |
Other author: | Chulalongkorn university. Faculty of Communication Arts |
Issue Date: | 2022 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The objective of this research was to explore the perceived image of Samui island from local stakeholders. An in-depth interview was selected as the research instrument for this study. The data is collected from 15 respondents who were local stakeholders of Samui island, they are those who live and work in Samui for more than 10 years, aged between 24-45 years old. The findings indicated that according to brand associations in terms of attributes the respondents perceived Samui island as “beach” “nature” and “cultural tourist destination” also, respondents perceived Samui as having “friendly” “lively” “complicated” and “easy-going” personalities. In terms of benefits, personal circumstances have a greater impact on the emotional component of an image as respondents perceived Samui island as gives various senses from relaxation, calm to happiness. The respondents were all have self-confident and proud of being one part of the island. In terms of attitudes, respondents who perceived a good image of Samui island may result in providing good attitudes towards the destination, on the other hand, those respondents who perceived a bad image of the island may lead to bad attitude towards the destination as respondents mentioned that the beach destination is clear and beautiful but those who perceived bad image think the beach are full of trash. |
Other Abstract: | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการรับรู้ภาพลักษณ์เกาะสมุยของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในท้องถิ่น โดยเลือกแบบสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นเครื่องมือในการศึกษาครั้งนี้ ข้อมูลรวบรวมจากผู้ให้สัมภาษณ์จำนวน 15 คน ซึ่งเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในท้องถิ่นของเกาะสมุย โดยเป็นผู้ที่อาศัยและทำงานบนเกาะสมุยมากกว่า 10 ปี อายุระหว่าง 24-45 ปี ผลการวิจัยระบุว่า จากความสัมพันธ์ของแบรนด์ในแง่ของคุณลักษณะ ผู้ให้สัมภาษณ์มองว่าภาพลักษณ์ของเกาะสมุยคือ “ชายหาด” “ธรรมชาติ” และ “แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม” นอกจากนี้ผู้ให้สัมภาษณ์มองว่าสมุยมีบุคลิกภาพ คือ “เป็นมิตร” “มีชีวิตชีวา” “ซับซ้อน” และ “เป็นกันเอง” ในแง่คุณประโยชน์ประสบการณ์ส่วนบุคคลมีผลต่อภาพลักษณ์และความรู้สึกที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีต่อแหล่งท่องเที่ยว เนื่องจากผู้ให้สัมภาษณ์มองว่าเกาะสมุยให้ความรู้สึกที่หลากหลาย อย่างเช่น ความผ่อนคลาย ความสงบ ไปจนถึง ความสุข ผู้ให้สัมภาษณ์ล้วนมีความมั่นใจและภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของเกาะสมุย ในด้านทัศนคติ ผู้ให้สัมภาษณ์ที่มองเห็นภาพลักษณ์ที่ดีของเกาะสมุยส่งผลให้มีทัศนคติที่ดีต่อแหล่งท่องเที่ยว ในทางกลับกัน ผู้ให้สัมภาษณ์ที่รับรู้ภาพลักษณ์ที่ไม่ดีของเกาะสมุยนำไปสู่ทัศนคติที่ไม่ดีต่อแหล่งท่องเที่ยวเช่นกัน ดังที่ผู้ให้สัมภาษณ์กล่าวไว้ว่าชายหาดของเกาะสมุยมีความใสและสวยงาม แต่ผู้ที่มองเห็นภาพลักษณ์ที่ไม่ดีกลับบอกว่าชายหาดนั้นเต็มไปด้วยขยะมากมาย |
Description: | Independent Study (M.A. (Communication Arts))--Chulalongkorn University, 2022 |
Degree Name: | Master of Arts (Communication Arts) |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Strategic Communication Management |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81924 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2022.59 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.IS.2022.59 |
Type: | Independent Study |
Appears in Collections: | Comm - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6488017828.pdf | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.