Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82208
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นุรซีตา เพอแสละ | - |
dc.contributor.author | ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง | - |
dc.contributor.author | สิวะโชติ ศรีสุทธิยากร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-07-07T02:53:15Z | - |
dc.date.available | 2023-07-07T02:53:15Z | - |
dc.date.issued | 2565-04 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 24,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2565) หน้า 360-369 | en_US |
dc.identifier.issn | 2586-9345 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82208 | - |
dc.description.abstract | การวัดทางจิตวิทยาโดยเฉพาะด้านบุคลิกภาพเริ่มเข้ามามีบทบาทในกระบวนการคัดเลือกอย่างต่อเนื่องทั้งในภาคการศึกษาและอุตสาหกรรมองค์กร แต่เมื่อนำมาปฏิบัติจริงยังประสบปัญหาการตอบที่ตั้งใจบิดเบือนโดยเฉพาะการตอบตามความปรารถนาของสังคมเพื่อให้ตนเองผ่านการคัดเลือก จึงเริ่มมีการศึกษาและนำเสนอแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างหลากหลาย โดยในที่นี้การสร้างแบบวัดในรูปแบบบังคับเลือกเป็นหนึ่งในแนวทางที่มีผลการศึกษาจำนวนมาก ยืนยันถึงประสิทธิผลในการป้องกันการตอบแบบวัดอย่างบิดเบือน อย่างไรก็ตาม การใช้แบบวัดรูปแบบบังคับเลือกโดยใช้รูปแบบการคิดค่าคะแนนแบบดั้งเดิมยังก่อให้เกิดข้อจำกัดเกี่ยวกับปัญหาการไม่สามารถนำผลคะแนนไปใช้วัดความแตกต่างระหว่างบุคคลได้อย่างถูกต้อง ในระยะต่อมาจึงเริ่มมีการนำทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบเข้ามาประยุกต์ใช้ในการคิดค่าคะแนนของแบบวัดรูปแบบบังคับเลือกเพื่อให้สามารถนำแบบวัดรูปแบบบังคับเลือกไปใช้ในกระบวนการคัดเลือกได้จริงในทางปฏิบัติ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Psychology testing, especially personality, has become an important role in selection practices in both education and industrial organization sectors. However, to implement psychology testing into the selection process has been challenged with social desirability response problems which respondents try to distort an answer in order to pass the selection. Consequently, there are currently many proposed solutions to this problem, in which one of those efficiency solutions is to construct measures with forced choice format. Nevertheless, forced choice format with traditional scoring has limitation in measuring individual difference that is a key point of the selection practices, which is called Ipsativity problem. Nowadays, Item Response Theory is applied to overcome this problem of forced choice format implementation. As a result of developed item response models, forced choice format with normative scoring approach can be practically implemented in selection context. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร | en_US |
dc.relation.uri | https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/242808 | - |
dc.rights | วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร | en_US |
dc.subject | การประเมินบุคลิกภาพ | en_US |
dc.subject | บุคลิกภาพ | en_US |
dc.subject | การทดสอบบุคลิกภาพ | en_US |
dc.title | การใช้แบบวัดบุคลิกภาพในกระบวนการคัดเลือกบุคคลในบริบททางการศึกษา | en_US |
dc.title.alternative | Using personality inventories in the educational selection | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Thai Journal Article |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
html_submission_85245.html | บทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext) | 2.77 kB | HTML | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.