Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82496
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Roongruedee Chaiteerakij | - |
dc.contributor.advisor | Pisit Tangkijvanich | - |
dc.contributor.author | Thanikarn Suk-aram | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Medicine | - |
dc.date.accessioned | 2023-08-04T06:08:07Z | - |
dc.date.available | 2023-08-04T06:08:07Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82496 | - |
dc.description | Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2022 | - |
dc.description.abstract | Background: Volatile organic compounds (VOCs) were shown as promising biomarkers for hepatocellular carcinoma (HCC) diagnosis. We aimed to investigate the performance of VOCs for diagnosing early-stage HCC in patients at-risk for HCC. Methods: VOCs were identified in exhaled breath samples collected from 90 early-stage HCC patients, 90 cirrhotic patients, 91 HBV-infected patients, and 95 healthy volunteers using thermal desorption-gas chromatography/field-asymmetric ion mobility spectrometry. The VOC levels were compared between the four groups. An association between VOCs and HCC was determined using logistic regression analysis. Diagnostic performance of VOCs was estimated using the AUROC and compared to serum alpha-fetoprotein (AFP). Results: The levels of dimethyl sulfide, 1,4-pentadiene, isopropyl alcohol, and acetone were significantly different between the four groups. After adjusting for liver function test and AFP, acetone was significantly associated with HCC. Acetone significantly outperformed AFP, with 88.9% vs. 68.2% sensitivity, 87.3% vs. 63.6% specificity, 87.7% vs. 65.2% for accuracy, and AUROC of 0.932 vs. 0.725, p=0.017, 0.001, <0.001, and 0.001, respectively, for differentiating between HCC and non-HCC group. Conclusion: Acetone has a better performance than AFP for diagnosing early HCC in high-risk patients. Further studies to validate the utility of VOCs as a HCC surveillance tool are needed. | - |
dc.description.abstractalternative | ที่มา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์: การตรวจสารอินทรีย์ระเหยเป็นวิธีที่สามารถนำมาใช้ในการตรวจวินิจฉัยมะเร็งตับชนิดเฮปาโตเซลลูลาร์คาร์ซิโนมา ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพสารอินทรีย์ระเหยสำหรับการวินิจฉัยผู้ป่วยมะเร็งตับในระยะเริ่มต้นจากกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดมะเร็งตับ ระเบียบวิธีการวิจัย: สารอินทรีย์ระเหยจากลมหายใจถูกเก็บจากกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งตับจำนวน 90 ราย กลุ่มผู้ป่วยตับแข็งจำนวน 90 ราย กลุ่มผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีจำนวน 91 ราย และอาสาสมัครสุขภาพดีจำนวน 95 ราย จากนั้นนำมาวิเคราะห์ด้วยเทคนิคเทอร์มอลดีซอฟชั่น-แก๊สโครมาโตกราฟี-ฟิลด์เอซิมเมตริกไอออนโมบิลิตี้สเปกโตรเมทรี การเปรียบเทียบระดับของสารอินทรีย์ระเหยระหว่าง 4 กลุ่มรวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างสารอินทรีย์ระเหยและมะเร็งตับถูกนำมาวิเคราะห์โดยการใช้สถิติการถดถอยโลจิสติก ประเมินประสิทธิภาพการวินิจฉัยผู้ป่วยมะเร็งตับจากสารอินทรีย์ระเหยง่ายโดยใช้พื้นที่ใต้กราฟ ROC และเปรียบเทียบกับแอลฟา-ฟีโตโปรตีน ผลการศึกษา: จากผลการวิเคราะห์พบปริมาณของ dimethyl sulfide, 1,4-pentadiene, isopropyl alcohol และ acetone มีความแตกต่างระหว่าง 4 กลุ่มอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสารอินทรีย์ระเหยและมะเร็งตับโดยคำนึงถึงปัจจัยค่าการทำงานของตับและแอลฟา-ฟีโตโปรตีน พบว่าปริมาณ acetone มีความสัมพันธ์กับมะเร็งตับอย่างมีนัยสำคัญ อีกทั้งยังพบว่า acetone สามารถแยกผู้ป่วยมะเร็งตับจากผู้ป่วยที่ไม่เป็นมะเร็งตับได้ดีกว่าแอลฟา-ฟีโตโปรตีนด้วยความไว (ร้อยละ 88.9 และ 68.2, p=0.017), ความจำเพาะ (ร้อยละ 87.3 และ 63.6, p=0.001) , ความแม่นยำ (ร้อยละ 87.7 และ 65.2, p<0.001) และพื้นที่ใต้กราฟ ROC ( 0.932 และ 0.725, p=0.001) ตามลำดับ สรุปผลการศึกษา: สารอินทรีย์ระเหยโดยเฉพาะ acetone มีประสิทธิภาพในการวินิจฉัยแยกผู้ป่วยมะเร็งตับในระยะเริ่มต้นจากผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงได้ดีกว่าแอลฟา-ฟีโตโปรตีน อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องมีการศึกษาความเที่ยงตรงภายนอกเพิ่มเติมเพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของสารอินทรีย์ระเหยในการเป็นตัวบ่งชี้ทางชีวภาพเพื่อใช้ในการตรวจเฝ้าระวังมะเร็งตับ | - |
dc.language.iso | en | - |
dc.publisher | Chulalongkorn University | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.246 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | - |
dc.subject.classification | Medicine | - |
dc.subject.classification | Professional, scientific and technical activities | - |
dc.subject.classification | Biology and biochemistry | - |
dc.title | Analysis of VOCs from exhaled breath for the diagnosis of hepatocellular carcinoma | - |
dc.title.alternative | การวิเคราะห์สารอินทรีย์ระเหยจากลมหายใจเพื่อใช้ในการวินิจฉัยมะเร็งตับ | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | Doctor of Philosophy | - |
dc.degree.level | Doctoral Degree | - |
dc.degree.discipline | Medical Sciences | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2022.246 | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6271026830.pdf | 3.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.