Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82517
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สารัช สุนทรโยธิน | - |
dc.contributor.advisor | กำพล สุวรรณพิมลกุล | - |
dc.contributor.author | กฤติน อู่สิริมณีชัย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-08-04T06:08:17Z | - |
dc.date.available | 2023-08-04T06:08:17Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82517 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565 | - |
dc.description.abstract | ความเป็นมา: ไวรัส SARS-CoV-2 อาจส่งผลกระทบต่อต่อมใต้สมองและเป็นสาเหตุส่วนหนึ่งทำให้เกิดกลุ่มอาการหรือความผิดปกติที่ยังคงพบต่อเนื่องหลังจากติดเชื้อโควิด-19 ในผู้ป่วยบางรายหรือที่เรียกว่า "Long COVID-19 syndrome" อย่างไรก็ตามข้อมูลผลกระทบของไวรัสต่อต่อมใต้สมองยังมีอยู่อย่างจำกัด วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินความอัตราการเกิดความผิดปกติของต่อมใต้สมองในผู้ป่วยที่หายจากการติดเชื้อโควิด-19 วิธีการวิจัย: ศึกษาความผิดปกติของการผลิตฮอร์โมนของต่อมใต้สมองในผู้ป่วยในช่วง 1เดือนหลังจากการหายจากการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ในอาสามัครอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย โดยอาศัยการตรวจระดับฮอร์โมนต่อมใต้สมองส่วนหน้าและ Fixed-dose glucagon stimulation test (FD-GST) เพื่อบ่งบอกภาวะพร่องฮอร์โมนต่อมใต้สมอง และประเมินความสัมพันธ์ระหว่างภาวะพร่องฮอร์โมนต่อมใต้สมอง กับความรุนแรงของโรคโควิด-19 และภาวะ Long COVID-19 syndrome ผลการศึกษา: จากผู้เข้าร่วมวิจัย 25 คน 18 คน (72%) มีความรุนแรงปานกลางระหว่างการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 และ 7 คน (28%) เป็นกลุ่มผู้ป่วยรุนแรงน้อย พบความชุกของภาวะ Long COVID-19 ใน 80% ของผู้เข้าร่วมวิจัย ภาวะพร่องฮอร์โมนต่อมใต้สมองพบใน 12% ของผู้เข้าร่วมวิจัย จากการที่มีระดับของ GH ผิดปกติหลังทำ FD-GST และ 8% แสดงความผิดปกติของระดับ cortisol จาก FD-GST อย่างไรก็ตามไม่พบความผิดปกติของฮอร์โมนต่อมใต้สมองส่วนหน้าอื่นๆ นอกจากนี้พบว่ากลุ่มที่มีความผิดปกติของฮอร์โมนต่อมใต้สมองพบว่ามีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของอาการเหนื่อยล้าซึ่งเป็นอาการที่พบบ่อยของ Long COVID-19 syndrome โดยอาศัย Piper Fatigue Scale (p=0.003) สรุป: หนึ่งเดือนหลังจากการวินิจฉัยโรคโควิด-19 พบหลักฐานของความผิดปกติของต่อมใต้สมองร้อยละ 12 ซึ่งสัมพันธ์กับระดับอาการเหนื่อยล้า การศึกษาแสดงหลักฐานของผลกระทบของไวรัสที่มีต่อต่อมใต้สมองและแสดงถึงความจำเป็นในการติดตามอาการและระดับฮอร์โมนในผู้ป่วยหลังติดเชื้อไวรัสโควิด-19 | - |
dc.description.abstractalternative | Background: The SARS-CoV-2 virus can impact the pituitary gland, potentially contributing to the ongoing symptoms that some COVID-19 survivors experience, known as the "long COVID-19 syndrome". However, the clinical effects of the virus on the pituitary gland are unclear and inconsistent. Objective: Determine the existence and estimate the prevalence of pituitary dysfunction in patients who survived COVID-19 infection. Method: Our prospective study was conducted at King Chulalongkorn Memorial Hospital and included patients aged ≥ 18 with COVID-19 infection. Participants visited the research site (between 8:00 am and 9:00 am) 1 month after infection to evaluate baseline anterior pituitary hormone levels and administer the glucagon stimulation test (FD-GST). Result: Among the 25 subjects, 72% experienced moderate severity duringCOVID-19 infection. Pituitary dysfunction was observed in 12% of theparticipants, characterized by insufficient growth hormone (GH) responses from FD-GST, while 8% exhibited an inadequate cortisol response. In particular, 80% of the participants presented symptoms indicative of long COVID-19. The group displaying suboptimal GH responses following the GST revealed elevated fatigue levels, as assessed by the Piper Fatigue Scale (p=0.003). However, no relationship was identified between fatigue levels and the severity of COVID-19 infection. Furthermore, no correlation was detected between fatigue severity and other anterior pituitary hormones. Conclusion: One month after a diagnosis of COVID-19, approximately one-tenth of the patients showed evidence of pituitary dysfunction, associated with thehigher levels of fatigue reported. This study emphasizes the impact of the virus on the pituitary gland and the need for monitoring post-COVID-19 symptoms and hormone levels in patients. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.1016 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject.classification | Medicine | - |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | - |
dc.subject.classification | Medicine | - |
dc.title | การติดตามการทำงานของต่อมใต้สมองในผู้ป่วยที่หายจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 | - |
dc.title.alternative | Comprehensive pituitary function assessments in COVID-19 survivors | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2022.1016 | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6470003330.pdf | 1.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.